Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3846
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanagorn NAKAJen
dc.contributorคณากร นาคอาจth
dc.contributor.advisorChaiyos Paiwithayasirithamen
dc.contributor.advisorไชยยศ ไพวิทยศิริธรรมth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T08:00:06Z-
dc.date.available2022-07-18T08:00:06Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3846-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research are to 1) Study the factors of innovative behavior of Vocational Certificate students. 2) Verify the consistency between innovative behavior modal from Vocational Certificate students Industry program and the empirical data. There are 2 steps in this research. First, study and specify the students' innovation indicative behavior from the related researches. Then approved this information by 7 experts. The research instrument used is the structure interview. Second, verify the consistency innovative behavior model used is the method of Confirmatory Factor Analysis. The simple are 660 students from 3rd year of Vocational Certificate from the office of the Vocational Education Commission and the office of the Private Education Commission in the central region. The  research instrument used is the questionnaire 5 rating scales. The statistical tools used for analysis is LISREL. The results indicate that. 1. There are 4 factors of innovative behavior of Vocational Certificate students Industry program; Idea exploration, Idea generation, Idea championing, Idea implementation, There are 13 indicators. 2. Consistency of innovative behavior model with empirical data from Vocational Certificate students Industry program. Considering the value: Chi-Square=70.394, df=53, P-value=.0552, RMSEA=0.022, SRMR=0.0133, CFI=0.998, GFI=0.984, AGFI=0.972en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม และ 2) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยดำเนินการวิจัย 2 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การศึกษาและกำหนดพฤติกรรมบ่งชี้เชิงนวัตกรรมของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และนำข้อมูลยืนยัน ตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 ท่าน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและสร้างข้อสรุป ขั้นที่ 2 การตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 จากสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในภาคกลาง จำนวน 660 คน จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตรตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ข้อมูลที่ได้นำมาตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป LISREL ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การสำรวจความคิด การสร้างแนวคิดใหม่ การส่งเสริมความคิดให้เป็นที่ยอมรับ และการทำความคิดให้เกิดผล มี 13 ตัวบ่งชี้ 2. โมเดลพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่า Chi-Square=70.394, df=53, P-value=.0552, RMSEA=0.022, SRMR=0.0133, CFI=0.998, GFI=0.984, AGFI=0.972th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมth
dc.subjectอาชีวศึกษาth
dc.subjectการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันth
dc.subjectinnovative behavioren
dc.subjectvocational educationen
dc.subjectConfirmatory Factor Analysisen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Study of Innovative Behavior Components of Vocational Certificate Students in industry programen
dc.titleการศึกษาองค์ประกอบของพฤติกรรมเชิงนวัตกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60264302.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.