Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorUnchuleeporn KARMPIRAen
dc.contributorอัญชุลีภรณ์ คำภิระth
dc.contributor.advisorSakdipan Tonwimonraten
dc.contributor.advisorศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T08:00:09Z-
dc.date.available2022-07-18T08:00:09Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3865-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstract                The research objectives were to determine: 1) the school administrator’s competencies under Suphanburi Primary Educational Service Area Office 1 2) the school effectiveness under Suphanburi Primary Educational Service Area Office 1 and 3) the relationship between administrator’s competencies and school effectiveness under Suphanburi Primary Educational Service Area Office 1. The sample was 103 schools under Suphanburi Primary Educational Service Area Office 1. The two respondents from each school consisted of a school director or acting school director and a teacher, with the total of 206. The research instrument was a questionnaire regarding administrator’s competencies, based on the concept of Hellriegel, Jackson, and Slocum and the school effectiveness, based on the concept of Lunenburg and Ornstein. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and Pearson’s product–moment correlation coefficient.             The research findings revealed that:             1. The school administrator’s competencies under Suphanburi Primary Educational Service Area Office 1 as a whole was at high level. The arithmetic mean ranking from the highest to the lowest were as follows; communication competency, planning and administration competency, global awareness competency, teamwork competency, strategic action competency and self-management competency.             2. The school effectiveness under Suphanburi Primary Educational Service Area Office 1 as a whole was at high level. The arithmetic mean ranking from the highest to the lowest were as follows; high time on task, positive home-school relations, a climate of high expectation, a safe and orderly environment, instruction leadership, frequent monitoring of student progress and a clear school mission.             3. The relationship between administrator’s competencies and school effectiveness under Suphanburi Primary Educational Service Area Office 1 were high correlation, with significantly at .01en
dc.description.abstract          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประสงค์เพื่อทราบ 1) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 จำนวน 103 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 2 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา 1 คน และครู 1 คน รวมทั้งสิ้น 206 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะผู้บริหารตามแนวคิดของเฮลรีเกล แจ็คสัน และสโลคัม และประสิทธิผลของสถานศึกษาตามแนวคิดของ ลูเนนเบิร์ก และออนสเตน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน           ผลการวิจัยพบว่า           1. สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน คือ สมรรถนะในการสื่อสาร และอยู่ในระดับมาก 5 ด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ สมรรถนะในการวางแผนและการบริหารจัดการ สมรรถนะในการตระหนักรับรู้เรื่องโลกาภิวัตน์ สมรรถนะในการทำงานเป็นทีม สมรรถนะในการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ และสมรรถนะในการบริหารตนเอง           2. ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 2 ด้าน ได้แก่ ความทุ่มเทเวลาในการทำงาน และความสัมพันธ์เชิงบวกกับผู้ปกครอง และอยู่ในระดับมาก 5 ด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ความคาดหวังที่สูง สภาพแวดล้อมเป็นระเบียบและปลอดภัย ภาวะผู้นำด้านวิชาการ การตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียน และพันธกิจของสถานศึกษามีความชัดเจน           3. สมรรถนะของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเป็นความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูง และมีลักษณะคล้อยตามกันth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสมรรถนะของผู้บริหารth
dc.subjectประสิทธิผลของสถานศึกษาth
dc.subjectADMINISTRATOR'S COMPETENCIESen
dc.subjectTHE EFFECTIVENESS OF SCHOOLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE ADMINISTRATOR’S COMPETENCIES AND SCHOOL EFFECTIVENESS  UNDER SUPHANBURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleสมรรถนะของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620032.pdf6.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.