Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3959
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSaruda PORUANGen
dc.contributorศรุดา โพธิ์เรืองth
dc.contributor.advisorTHANAKRIT SANGCHOEYen
dc.contributor.advisorธนกฤต สังข์เฉยth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2022-07-19T03:30:30Z-
dc.date.available2022-07-19T03:30:30Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3959-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstract        The objectives of this research was (1) to evaluate level of work-family conflict, emotional exhaustion and turnover intention (2) to study the influence of work-family conflict side of work interference with family which effect on emotional exhaustion (3) to study the influence of work-family conflict side of family interference with work which effect on emotional exhaustion (4) to study the influence of emotional exhaustion which effect the turnover intention. This research was conducted by a quantitative research approach. The questionnaire was used as a research tool. The samples of this research consisted of 250 employees. Using the statistics that used for analyzing data are frequencies, percentage, mean and standard deviation. Hypotheses were tested with multiple regression analysis. The result found that most of the sample is form female, age 36-40, single status, bachelor’s degree, work experienced over 10 years. The hypotheses testing is found the level of work-family conflict, emotional exhaustion and turnover intentions is at a moderated level. The two groups of variables has a positive affected and statistically significant effect on emotional exhaustion. These first group and the second groups of variables could describe the variation of emotional exhaustion at 42.2 and 41.9 percent, respectively ( R2=0.42 2 , R2=0.419) and Emotional exhaustion has a positive affected on the turnover intention and could forecast turnover intention at 57.2 percent (ß =0.572).  en
dc.description.abstract   การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อประเมินระดับความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัว ความอ่อนล้าทางอารมณ์ และความตั้งใจลาออกจากงาน (2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัว ด้านความขัดแย้งจากการทำงานส่งผลกระทบต่อครอบครัว ที่ส่งผลต่อความอ่อนล้าทางอารมณ์ (3) เพื่อศึกษาอิทธิของความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัว ด้านความขัดแย้งจากครอบครัวส่งผลกระทบต่อการทำงาน ที่ส่งผลต่อความอ่อนล้าทางอารมณ์  (4) เพื่อศึกษาอิทธิพลความอ่อนล้าทางอารมณ์ ที่ส่งผลต่อความตั้งใจลาออกจากงาน  การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย  กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ พนักงานธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 250 คน   วิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุ  ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 36-40 ปี มีสถานภาพโสด การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี มีอายุการทำงานมากกว่า 10 ปี  ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ระดับความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัว ความอ่อนล้าทางอารมณ์ และความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานธนาคารที่เป็นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง  กลุ่มตัวแปรด้านความขัดแย้งจากการทำงานส่งผลกระทบต่อครอบครัวและกลุ่มตัวแปรด้านความขัดแย้งจากครอบครัวส่งผลกระทบต่อการทำงานมีอิทธิพลทางบวกต่อความอ่อนล้าทางอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งสองกลุ่มตัวแปรสามารถอธิบายการผันแปรของความอ่อนล้าทางอารมณ์ได้ร้อยละ 42.2 และร้อยละ 41.9 ตามลำดับ (R2=0.422, R2=0.419) และความอ่อนล้าทางอารมณ์พบว่ามีความอิทธิพลทางบวกกับความตั้งใจลาออกจากงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและสามารถพยากรณ์ความตั้งใจลาออกได้ร้อยละ 57.2 (ß=0.572)  th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัวth
dc.subjectความอ่อนล้าทางอารมณ์th
dc.subjectความตั้งใจลาออกจากงานth
dc.subjectWork–family conflicten
dc.subjectEmotional Exhaustionen
dc.subjectTurnover Intentionsen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleTHE EFFECT TO WORK-FAMILY CONFLICT EMOTIONAL EXHAUSTION AFFECTING TURNOVER INTENTION AMONG BANK EMPLOYEES  CASE STUDY : A BANK IN BANGKOKen
dc.titleอิทธิพลของความขัดแย้งระหว่างงานกับครอบครัว  ความอ่อนล้าทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจลาออกจากงานของพนักงานธนาคาร กรณีศึกษา: ธนาคารแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60602723.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.