Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4090
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPrangthong CHANGTHAMen
dc.contributorปรางทอง ชั่งธรรมth
dc.contributor.advisorRatthai Porncharoenen
dc.contributor.advisorรัฐไท พรเจริญth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Decorative Artsen
dc.date.accessioned2022-12-13T04:27:08Z-
dc.date.available2022-12-13T04:27:08Z-
dc.date.issued25/11/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4090-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstract     Nowadays, the world is developing rapidly with a significant impact of technology, causing problems related to visual perception. This research aims to study data and risk factors that cause Visual Fatigue Syndrome in the working age group to create an aesthetically innovative design of the prototype light that helps relieve eye strain. Also, to enhance users’ satisfaction who mainly work on the computer.      There are 3 research aims to: 1. Study in Phase study factors affecting Visual Fatigue Syndrome. In this phase, an online questionnaire was compiled to study the prevalence and associated risks affecting visual fatigue. The sample group included 120 people aged 20 years or more but not more than 60 years for primary symptom screening to select the sample group to match the research objectives in the research Phase 3., In Phrase 2, the prototype innovation process was designed, while instrument template will be evaluated for its safety performance by experts. And in Phase 3, the researcher studied the aesthetic innovation of prototype lighting for a visual fatigue relief test with the sample group who mainly worked on computers total of 35 people using screening qualifications from Phase 1. The research tools included questionnaires, data analysis using average statistics and standard deviation to measure the sample's satisfaction and interpret study results using descriptive methods.      The researcher has summarized users' satisfaction with the prototype lighting innovation by dividing the issues into the following 1. Satisfaction with the experimental, innovative lighting prototype operation at the mean value 4.20 ​​(SD) 0.25 2. Satisfaction towards innovative lighting design for eye management at the mean value 4.18 (SD) 0.08 and aesthetic satisfaction from imaginative art therapy media value 4.04 while (SD) 0.07, which follows the research hypothesis at a high level.en
dc.description.abstract     ปัจุบันในขณะที่โลกพัฒนาอย่างรวดเร็ว ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากความเจริญโดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี ก่อให้เกิดปัญหาที่เกี่ยวกับการรับรู้ทางการมองเห็น งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูล และการรวบรวมปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอาการเมื่อยล้าทางสายตาในกลุ่มวัยทำงาน นำไปสู่การออกแบบนวัตกรรมสุนทรียะของแสงต้นแบบที่ช่วยผ่อนคลายอาการกล้ามเนื้อตาล้า เพื่อประเมินความพึงพอใจจากกลุ่มที่ปฏิบัติงานทางคอมพิวเตอร์เป็นหลัก       ขั้นตอนการดําเนินการวิจัยตามวัตถุประสงค์ มี 3 ระยะดังต่อไปนี้ การศึกษาระยะที่ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะอาการเมื่อยล้าทางสายตา โดยทำการรวบรวมแบบสอบถามออนไลน์สำหรับการศึกษาความชุกและความสัมพันธ์ของปัจจัยเสี่ยงที่มีผลของกลุ่มอาการตาเมื่อยล้า จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 120 คน ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไปแต่ไม่เกิน 60 ปี สำหรับการคัดกรองอาการเบื้องต้นสู่การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของการทำวิจัยในการศึกษาระยะที่ 3  การศึกษาระยะที่ 2 เป็นกระบวนการออกแบบนวัตกรรมต้นแบบ แม่แบบเครื่องมือทุกชิ้นจะผ่านการประเมินประสิทธิภาพความปลอดภัยจากผู้เชี่ยวชาญ  การศึกษาระยะที่ 3 การสร้างนวัตกรรมสุนทรียะของแสงต้นแบบสำหรับทดสอบการผ่อนคลายความเมื่อยล้าของสายตา กับกลุ่มตัวอย่างที่ปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์เป็นหลัก ที่มีคุณสมบัติคัดกรองจากการศึกษาระยะที่ 1 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อวัดผลความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง พร้อมทั้งการแปรผลด้วยวิธีกการบรรยาย      สรุปผลความพึงพอใจต่อนวัตกรรมแสงต้นแบบ โดยการแบ่งประเด็นออกเป็นดังต่อไปนี้ 1.ความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการทดลองนวัตกรรมแสงต้นแบบที่ค่าเฉลี่ย 4.20 ค่า (SD) 0.25 2.ความพึงพอใจด้านการออกแบบนวัตกรรมแสงเพื่อการบริหารดวงตาที่ค่าเฉลี่ย 4.18 ค่า (SD) 0.08 และความพึงพอใจด้านสุนทรียะจากสื่อศิลปะบำบัดแห่งจินตนาการที่ค่าเฉลี่ย 4.04 และค่า (SD) 0.07 ซึ่งสอดคล้องตามสมมุติฐานการวิจัยที่อยู่ในเกณฑ์ระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectผู้ปฏิบัติงานทางคอมพิวเตอร์ , กลุ่มอาการเมื่อยล้าทางสายตา , การรับรู้ทางการมองเห็น , การกำหนดทิศทาง , การฟื้นฟูสายตาแบบวิถีธรรมชาติth
dc.subjectVideo Display Terminal Syndrome (VDTs) ; Visual Fatigue Syndrome ; Visual Perception ; Orientation ; Natural Vision Restorationen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE WORK'S AESTHETIC USES INNOVATIONS OF LIGHT TO CREATEA SENSE OF BEAUTY WHICH CAN RELIEVE EYE FATIGUEFROM VISUAL PERCEPTION IN THE DIGITAL SIGNAL AGEen
dc.titleสุนทรียะแห่งแสงสู่การรังสรรค์นวัตกรรมช่วยผ่อนคลายภาวะอาการความเมื่อยล้าของสายตาด้วยการรับรู้จากการมองเห็นในยุคสัญญาณดิจิทัลth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61158903.pdf24.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.