Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWaraporn TAMRENGITen
dc.contributorวราพร แต้มเรืองอิฐth
dc.contributor.advisorSangaun Inraken
dc.contributor.advisorสงวน อินทร์รักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-12-13T04:30:54Z-
dc.date.available2022-12-13T04:30:54Z-
dc.date.issued25/11/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4119-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to find 1) the decision – making of ministration under Kanchanaburi primary education service area office 1 2) budgeting management in schools under Kanchanaburi primary education service area office 1 3) the relationship between the decision – making of ministration and budgeting management succession in schools under Kanchanaburi primary education service area office 1. The sample data consisted of 103 schools under Kanchanaburi primary education service area office 1. The respondents from each school consisted of one school administrator and one teacher responsible for budgets, in the total of 206 respondents. The instrument employed for data collection was a opinionnaire about the decision – making of school administrators, and budgeting management in schools. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient.           The results of the research were as follows:           1. The decision – making of school administrators under Kanchanaburi primary education service area office, collectively and individually, were at a high level. Ranking by arithmetic mean from the highest to the lowest were Decision – making, Evaluate the decision, Analysis the situation, Searching for Alternative, and Evaluation Alternatives.           2. Budgeting management in schools under Kanchanaburi primary education service area office 1, collectively and individually, were at a high level. Ranking by the arithmetic mean from the highest to the lowest were Financial Management and  Control, Budgeting Planning, Financial and Performance Reporting, Procurement Management, Asset Management, Internal Audit, and Output Costing.           3. The relationship between the decision – making of School administrators and budgeting management in schools under Kanchanaburi primary education service area office 1, collectively, were statistically significant at 0.1en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การตัดสินใจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2) การบริหารงบประมาณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจของผู้บริหารกับผลการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 จำนวน 103 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 2 คน ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารสถานศึกษา 2) ครูผู้รับผิดชอบด้านงบประมาณ รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น จำนวน 206 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็น 1 ฉบับ เกี่ยวกับการตัดสินใจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 และการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การตัดสินใจของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด ทุกด้าน โดยเรียงจากค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย ดังนี้ การตัดสินใจหรือการเลือกทางเลือก การประเมินผลการตัดสินใจ การวิเคราะห์สถานการณ์ กำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ การค้นหาทางเลือก และการประเมินผลทางเลือก ตามลำดับ 2. การบริหารงบประมาณของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด ทุกด้าน โดยเรียงจากค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย ดังนี้ การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ การวางแผนงบประมาณ การรายงานทางการเงินและผลการดำเนินงาน การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารสินทรัพย์ การตรวจสอบภายใน และการคำนวณต้นทุนผลผลิต ตามลำดับ 3. การตัดสินใจของผู้บริหารกับการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในระดับสูง เป็นความสัมพันธ์กันในลักษณะที่คล้อยตามกันth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการตัดสินใจของผู้บริหารth
dc.subjectการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาth
dc.subjectTHE DECISION – MAKING OF MINISTRATORen
dc.subjectBUDGETING MANAGEMENT IN SCHOOLSen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDECISION-MAKING OF ADMINISTRATOR AND BUDGETING MANAGEMENT IN SCHOOL UNDER KANCHANABURI PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleการตัดสินใจของผู้บริหารกับการบริหารงบประมาณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620025.pdf5.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.