Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanilin JANPAKDEEen
dc.contributorปณิลิน จันภักดีth
dc.contributor.advisorMattana Wangthanomsaken
dc.contributor.advisorมัทนา วังถนอมศักดิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-12-13T04:30:56Z-
dc.date.available2022-12-13T04:30:56Z-
dc.date.issued25/11/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4137-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to determine  1) the school administrator’s superleadership under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 2  2) the  school  effectiveness under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 2  and  3) the relationship between the school administrator’s superleadership and the school  effectiveness under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 2. The sample of this research consisted of 108 schools in Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 2. The one respondents from each school consisted of a deputy director for academic affairs or an academic department. The research instrument was a opinionnaire regarding the superleadership of administrator, based on the concept of Manz and Sims and the  school  effectiveness, based on the concept of Marzano. The statistical analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson's product moment correlation coefficient. The results of this research were as follow: 1. The school administrator’s superleadership under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 2, as a whole were a high level, Each aspect was found  the highest level  and high level 6 aspect; ranking from the highest to the lowest mean: encouraging self-set goals, develop self-leadership through reward and constructive reprimand, becoming a self-leader, create positive thought patterns, facilitate a self-leadership culture, promote self-leadership through teamwork and modeling self-leadership. 2. The  school  effectiveness under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 2, as a whole were a high level, Each aspect was found  the highest level  and high level 4 aspect; ranking from the highest to the lowest mean: an instructional framework that develops and maintains effective instruction in every classroom, a guaranteed and viable curriculum focused on enhancing student learning, a competency-based system that ensures student mastery of content, a standards-referenced system of reporting student progress and a safe and orderly environment that supports cooperation and collaboration. 3. the relationship between the school administrator’s superleadership and the school  effectiveness under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office 2  were high correlation with  the .01 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต  2  2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต  2  3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต  2  กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 จำนวน 108 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 1 คน คือ รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการหรือหัวหน้าบริหารงานวิชาการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารตามแนวความคิดของแมนซ์และซิมส์  และประสิทธิผลของสถานศึกษาตามแนวคิดของมาร์ซาโน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่    ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1.ภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต  2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้านและอยู่ในระดับมาก 6 ด้าน  โดยเรียงลำดับจากค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ การกระตุ้นการตั้งเป้าหมายด้วยตนเอง  การพัฒนาภาวะผู้นำตนเองโดยการให้รางวัลและตำหนิอย่างสร้างสรรค์  การเป็นผู้นำตนเอง  การสร้างรูปแบบความคิดในทางบวก  การอำนวยความสะดวกให้เกิดวัฒนธรรมของผู้นำตนเอง   การสนับสนุนให้เกิดภาวะผู้นำตนเองโดยการสร้างทีมงาน  การเป็นแบบอย่างที่เป็นผู้นำตนเอง   ตามลำดับ 2.ประสิทธิผลของสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต  2  โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้านและอยู่ในระดับมาก 4 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้  ดังนี้   กรอบการสอนที่พัฒนาและการจัดการเรียนสอนที่มีประสิทธิภาพในทุกห้องเรียน  หลักสูตรที่มีคุณภาพและผ่านการรับรองมุ่งส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน  ระบบฐานสมรรถะที่ทำให้นักเรียนมีความเป็นเลิศ  ระบบการรายงานความก้าวหน้าของนักเรียน  สภาพแวดล้อมมีความปลอดภัยและเป็นระเบียบจากการสนับสนุนและการทำงานร่วมกัน  ตามลำดับ 3.ภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของสถานศึกษา   สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต  2 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ในลักษณะคล้อยตามกันในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectภาวะผู้นำเหนือผู้นำth
dc.subjectประสิทธิผลของสถานศึกษาth
dc.subjectSUPERLEADERSHIPen
dc.subjectSCHOOL EFFECTIVENESSen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE SUPERLEADERSHIP OF ADMINISTRATOR AND SCHOOL EFFECTIVENESSUNDER RATCHABURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE  2en
dc.titleภาวะผู้นำเหนือผู้นำของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี  เขต  2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630620045.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.