Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4255
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Patison BENYASUTA | en |
dc.contributor | ปติสร เพ็ญสุต | th |
dc.contributor.advisor | CHEDHA TINGSANCHALI | en |
dc.contributor.advisor | เชษฐ์ ติงสัญชลี | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Archaeology | en |
dc.date.accessioned | 2023-06-08T02:53:34Z | - |
dc.date.available | 2023-06-08T02:53:34Z | - |
dc.date.issued | 1/7/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4255 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | The Dharmas or Buddhist monk’s pulpit is a sacred seat of the monk for preaching. It can be considered as the “throne of the Dhrama”. According to the Vinaya’s text, it is stated that the monk has to preach the Dharma higher than the listener, therefore, the artisan must carefully construct these sacred thrones by using the same architectural components as the style that used by the monarch, especially the replica of the royal throne, the high status “Prasada” or Royal house, or the type of the consecrated pedestal that used with the Buddha image to construct the pulpit. Therefore, the Ayutthaya pulpit were also built in these way as well. In this research, Ayutthaya pulpits are categorized into 2 styles by their broad periods, 1. Middle Ayutthaya art (16th – 17th ) 2. Late Ayutthaya art (18th century to the end of Ayutthaya with some groups of craftsmen who continued carrying on the remaining of Ayutthaya style until the early of Bangkok period). This study has shown that the oldest remaining pulpits can be dated not older than 16th century, during which Ayutthaya kingdom had several wars with the northern Lanna state. Therefore, the Ayutthaya art had been influenced by the Lanna art as well. Consequently, the elements and decorations of the Ayutthaya pulpits during this period clearly showed the Lanna art style, before gradually developing and changing their form. They were also demonstrated some influences from others foreign art such as Muslim and Western arts, as well as being influenced by the style of Chinese basement from Ming dynasty, which was consistent with historical events. The late Ayutthaya pulpits style clearly showed more individual character. The artistic style is clearly consistent with other late Ayutthaya arts and was passed down to Bangkok art. | en |
dc.description.abstract | ธรรมาสน์ เป็นอาสนะหรือที่นั่งของพระสงฆ์สำหรับการแสดงพระธรรมเทศนา มีฐานะเป็น “บัลลังก์ของพระธรรม” ตามคติเรื่องการให้เกียรติแก่พระธรรมว่าเป็นสิ่งสูงค่า เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของพระรัตนตรัย ในพระวินัยก็มีการระบุว่าพระภิกษุจำเป็นต้องแสดงธรรมในที่สูงกว่าผู้ฟัง จึงต้องจัดสร้างขึ้นอย่างประณีตบรรจง โดยใช้ฐานันดรทางสถาปัตยกรรมเช่นเดียวกับที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะการจำลองพระราชบัลลังก์ เรือนปราสาทฐานันดรสูง หรือฐานประเภทเดียวกับที่ใช้กับพระพุทธรูปมาจัดสร้างเป็นธรรมาสน์ด้วย ธรรมาสน์ในศิลปะอยุธยาก็จัดสร้างขึ้นในลักษณะเหล่านี้ ในการวิจัยนี้แบ่งหมวดหมู่ของธรรมาสน์เป็น 2 ระยะเวลากว้าง ๆ คือ ธรรมาสน์ในศิลปะอยุธยาตอนกลาง (ปลายพุทธศตวรรษที่ 21 พุทธศตวรรษที่ 22) และธรรมาสน์ในศิลปะอยุธยาตอนปลาย (พุทธศตวรรษที่ 23 จนกระทั่งกรุงศรีอยุธยาสิ้นสุดลง โดยมีกลุ่มช่างบางส่วนที่ยังคงสืบสานรูปแบบศิลปะอยุธยาต่อไปในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเล็กน้อย) จากการศึกษาพบว่าธรรมาสน์ที่เก่าแก่ที่สุดไม่เก่าไปกว่าพุทธศตวรรษที่ 21 หลงเหลืออยู่จำนวนไม่มากนัก ซึ่งในระยะนี้กรุงศรีอยุธยามีการทำศึกสงครามกับรัฐล้านนาทางเหนือ จึงได้รับอิทธิพลทางศิลปกรรมมาด้วย องค์ประกอบและการประดับตกแต่งของธรรมาสน์ในช่วงเวลานี้จึงแสดงรูปแบบศิลปะล้านนาอย่างชัดเจน ก่อนจะค่อย ๆ พัฒนาเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปทีละเล็กทีละน้อย มีอิทธิพลจากศิลปกรรมภายนอกเข้ามาแทรกบ้าง เช่น ศิลปะมุสลิม และศิลปะตะวันตก รวมทั้งรับอิทธิพลรูปแบบของชุดฐานแบบจีนในสมัยราชวงศ์หมิงเข้ามาด้วย ซึ่งก็สอดคล้องกันกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ และค่อย ๆ พัฒนาเป็นธรรมาสน์ศิลปะอยุธยาตอนปลายที่แสดงลักษณะความเป็นตัวของตัวเองอย่างชัดเจน มีการประดับตกแต่งที่ละเอียดซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งรูปแบบทางศิลปกรรมก็สอดคล้องกันอย่างชัดเจนกับศิลปกรรมอยุธยาตอนปลายแขนงอื่น ๆ และกลายเป็นรูปแบบสมบูรณ์ของงานช่างที่ส่งต่อลงไปยังศิลปะรัตนโกสินทร์ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ธรรมาสน์ | th |
dc.subject | ศิลปะอยุธยา | th |
dc.subject | บุษบก | th |
dc.subject | ลายกนก | th |
dc.subject | ศิลปะไทย | th |
dc.subject | ปราสาท | th |
dc.subject | ไม้แกะสลัก | th |
dc.subject | Dharmas | en |
dc.subject | Pulpit | en |
dc.subject | Ayutthaya Art | en |
dc.subject | Thai Pattern | en |
dc.subject | Wooden Carve | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | The sermon thrones in Ayutthaya period : stylistic, development and continuity. | en |
dc.title | ธรรมาสน์สมัยอยุุธยา : พัฒนาการด้านรูปแบบและความต่อเนื่อง | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Archaeology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60107801.pdf | 89.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.