Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4263
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nanthicha MUEANNGOEN | en |
dc.contributor | นันทิชา เหมือนเงิน | th |
dc.contributor.advisor | Prasert Intarak | en |
dc.contributor.advisor | ประเสริฐ อินทร์รักษ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2023-08-03T06:48:15Z | - |
dc.date.available | 2023-08-03T06:48:15Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 4/7/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4263 | - |
dc.description.abstract | This research aims to identify 1) the development of early childhood education administration in Thailand related to the philosophy of other education programs, 2) the results from the analysis of the philosophy of early childhood education administration based on the curriculum of early childhood education in academic BE 2560, and 3) the confirmation of experts of the philosophy of early childhood education administration based on the curriculum of early childhood education in academic BE 2560. This research was a descriptive and documentary research supported by an interview from the experts. The researcher employed purposive sampling technique to from 12 experts included 9 experts interviewed in terms of the development of early childhood education administration in Thailand and other 3 experts interviewed in terms of the philosophy of early childhood education administration in Thailand. The findings results were as follows: 1)The development of early childhood educational administration in Thailand which related to educational philosophy. If found that there were in various form of child case grown birth to 6 years of early childhood education from the pass until the present. This age was the essent period of a basic development to be a human holistic in the future included physical, emotion, social, and wisdom. It’s also provided the moral and ethics in proper ways. This development was accordance with child development based on individual different. This stage was a preparing stage for the child to inquiring new knowledge and also improve their personality. Their mental was also develop to be a good quality. This development accordance with various philosophy such as progressivism, existentialism, which aimed to develop a child learn from their experience. Thurs, the curriculum must covered in all part of their daily life which simulate their learn. The teacher only gives a guide or coach the learners and prepare the proper experience for the learners. The teacher was also known and familia with the learners, prepare a proper classroom based on needed experiences. More the less education aimed to improve child discipline which stimulate self confidence and provided self-study. 2)From the analysis on educational administration philosophy in the curriculum of early childhood education BE.2560 found that this curriculum was a core course curriculum which flexible for school. It related to Metaphysics, Epistemology, and Essentialism which focused on the permanent nature of reality. Whereas, Perennialism focused on the value never change. Progressivism focused on good surviving. Reconstructionism focused on social development and Existentialism focused on human servicing which avined on self-learning based on early childhood curriculum BE. 2560 3) The confirmation of the experts’on postulation of the curriculum of early childhood education in academic BE.2560 found that the e curriculum of early childhood education in academic BE.2560 was accordance with educational philosophy | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบ 1) พัฒนาการของการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยที่สัมพันธ์กับปรัชญาการศึกษาสาขาต่าง ๆ 2) ผลการวิเคราะห์ปรัชญาการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยตามที่ปรากฏในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 3) ผลการยืนยันของผู้ทรงคุณวุฒิต่อปรัชญาการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยตามที่ปรากฏในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) ประเภทการศึกษาเอกสาร (Documentary Research) ประกอบการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้วิจัยคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เชี่ยวชาญสัมภาษณ์เรื่อง พัฒนาการของการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย จำนวน 9 คน และผู้ทรงคุณวุฒิในด้านปรัชญาและหลักคิดทางด้านการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยยืนยันผลการวิจัยจำนวน 3 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. พัฒนาการของการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทยที่สัมพันธ์กับปรัชญาการศึกษาสาขาต่าง ๆ พบว่า การจัดการศึกษาปฐมวัยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นการจัดการศึกษาในรูปแบบของการอบรมเลี้ยงดูที่เป็นพื้นฐานของชีวิต ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 6 ปี ซึ่งเป็นวัยที่สำคัญที่สุดในการปูพื้นฐานในการพัฒนาไปเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ในอนาคตทั้งในด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ตลอดจนการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และวางรากฐานบุคลิกภาพ มีการพัฒนาสมองเพื่อให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาที่มีความหลากหลายแตกต่างกัน กล่าวคือ ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม และปรัชญาอัตถิภาวนิยม ที่มีความต้องการให้เด็กปฐมวัย เรียนรู้จากประสบการณ์จริง หลักสูตรจึงครอบคลุมชีวิตประจำวันทุกรูปแบบที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ครูทำหน้าที่ในการแนะนำแนวทางให้แก่ผู้เรียนแล้วจัดประสบการณ์ที่ดีที่เหมาะสมให้แก่ผู้เรียน ครูต้องรู้จักผู้เรียนเป็นอย่างดีและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล วางแผนจัดสภาพในห้องเรียนให้พร้อมที่จะศึกษาเล่าเรียนให้ได้ประสบการณ์ตามที่ต้องการ นอกจากนี้ยังมุ่งให้ผู้เรียนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง เน้นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นตัวของตัวเองมากที่สุด ให้ผู้เรียนพบความเป็นจริงด้วยตัวเอง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนด้วยตนเอง 2. ผลการวิเคราะห์ปรัชญาการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยตามที่ปรากฏในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 พบว่า เป็นหลักสูตรแกนกลาง ที่มีความยืดหยุ่นที่สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัด มีการจัดองค์ความรู้ต่าง ๆ ที่มีความสอดคล้องกับอภิปรัชญา (Metaphysics) และญาณวิทยา (Epistemology) และคุณวิทยา (Axiology) และยังมีความสัมพันธ์กับปรัชญาการศึกษาซึ่งประกอบด้วย ปรัชญาสารัตถนิยม เป็นปรัชญาที่มีความเชื่อว่าในการถ่ายทอดความรู้ความจริงทางธรรมชาติ ปรัชญานิรันตรนิยมเป็นปรัชญาที่มีความเชื่อว่าโลกนี้มีบางสิ่งที่มีคุณค่าถาวรไม่เปลี่ยนแปลง ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม เป็นปรัชญาที่มีความเชื่อว่าการดำรงชีวิตที่ดี ปรัชญาปฏิรูปนิยม เป็นปรัชญาที่มีความเชื่อว่า การปฏิรูปสังคมเป็นหน้าที่ของสมาชิกในสังคมทุกคน และปรัชญาอัตถิภาวนิยม เป็นปรัชญาที่มีความเชื่อในความมีอยู่เป็นอยู่ของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนต้องเกิดได้จากตัวเอง ตามจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 3. ผลการยืนยันของผู้เชี่ยวชาญต่อปรัชญาการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยตามที่ปรากฏในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 พบว่า มีความสอดคล้องกับหลักปรัชญาการศึกษา | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ปรัชญาการบริหารจัดการ | th |
dc.subject | การบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย | th |
dc.subject | EDUCATIONAL PHILOSOPHY | en |
dc.subject | ADMINISTRATION OF EARLY CHILDHOOD EDUCATION | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | THE EDUCATIONAL PHILOSOPHY AND DEVELOPMENT OF EARLY CHILDHOOD ADMINISTRATION IN THAILAND | en |
dc.title | ปรัชญาการศึกษาและพัฒนาการของการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยในประเทศไทย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Prasert Intarak | en |
dc.contributor.coadvisor | ประเสริฐ อินทร์รักษ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | p_intarak@yahoo.co.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | p_intarak@yahoo.co.th | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Educational Administration | en |
dc.description.degreediscipline | การบริหารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60252915.pdf | 5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.