Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4301
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPawarisa DEEUDOMen
dc.contributorปวริศา ดีอุดมth
dc.contributor.advisorVachira Jantarachen
dc.contributor.advisorวชิระ จันทราชth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-03T06:48:20Z-
dc.date.available2023-08-03T06:48:20Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4301-
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to investigate the extent to which Activity-Based Learning (ABL) enhanced English reading comprehension of ninth grade students and to explore the opinions of ninth grade students towards Activity-Based Learning (ABL). The samples selected by the simple random sampling technique from eight mixed-performance classes were 36 ninth-grade students who enrolled in the English subject in the second semester of the 2021 academic year. The research instruments consisted of: 1) reading comprehension lesson plans based on Activity-Based Learning, 2) pre-posttests and 3) a questionnaire towards ABL.  The statistic analyses included mean (X), standard deviation (S.D.) and t-test. The findings were concluded below: 1) The mean score of the posttest was higher than that of the pretest at the level of .05. Therefore, it could be concluded that the Activity-Based Learning significantly enhanced the students’ English reading comprehension. 2) The students agreed that ABL could enhance English reading comprehension. The average score of their opinion was 3.81 (S.D. = 0.85). en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาผลการจัดกิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ (2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียน ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 36 คน เลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายจากห้องเรียนปกติ 8 ห้อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้พัฒนาการอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ 2) กิจกรรมที่ใช้กิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นต่อกิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และสถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย 1) คะแนนค่าเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปคือกิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ (ABL) พัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนดีขึ้น 2) นักเรียนเห็นด้วยเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้ (ABL) สามารถพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยมีค่าเฉลี่ย 3.81 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.82th
dc.language.isoen
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบกิจกรรมเป็นฐานth
dc.subjectการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจth
dc.subjectActivity-Based Learningen
dc.subjectReading Comprehensionen
dc.subjectActive Learningen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Effect of Activity-Based Learning to Enhance English Reading Comprehension of Ninth Grade Studentsen
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมเป็นฐานการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorVachira Jantarachen
dc.contributor.coadvisorวชิระ จันทราชth
dc.contributor.emailadvisorwritejoeynow@yahoo.com
dc.contributor.emailcoadvisorwritejoeynow@yahoo.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรและวิธีสอนth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61254306.pdf5.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.