Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPiyanuch SORNNUWATen
dc.contributorปิยะนุช ศรนุวัตรth
dc.contributor.advisorVorakarn Suksodkiewen
dc.contributor.advisorวรกาญจน์ สุขสดเขียวth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-03T06:48:26Z-
dc.date.available2023-08-03T06:48:26Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4345-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to determine 1) administrator’s supervision process of district learning encouragement centers in the central region 2) educational quality of district learning encouragement centers in the central region and 3) the relationship between administrator’s supervision process and educational quality of district learning encouragement centers in the central region. The sample of this research consists 132 of district learning encouragement centers in the central region. The two respondents from each district learning encouragement centers consists of a director or acting director and a teacher, with the total of 264. The research instrument was a questionnaire regarding administrator’s supervision process, based on the concept of Office of the Non-Formal and Informal Education and educational quality, based on the concept of Announcement of the Ministry of Education, Thailand. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and Pearson’s product–moment correlation coefficient. The research findings revealed that: 1. Administrator’s supervision process for district learning encouragement centers in the central region as a whole was at the high level. The arithmetic mean ranking for each factor from the highest to the lowest were as follows; the plans of supervision and options defining, the study of current problems and needs, the process of supervision, the conclusion of supervision and the creation of supervision tools, respectively. 2. Educational quality of district learning encouragement centers in the central region as a whole was at the high level. The arithmetic mean ranking for each factor from the highest to the lowest were as follows; quality of centers management, quality of education management and the quality of learners/service receiver, respectively. 3. The relationship between administrator’s supervision process and educational quality of district learning encouragement centers were in a high correlation with a  significance level at .01.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) กระบวนการนิเทศของผู้บริหารศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอในเขตภาคกลาง 2) คุณภาพการศึกษาของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอในเขตภาคกลาง และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการนิเทศของผู้บริหารกับคุณภาพการศึกษาของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอในเขตภาคกลาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอในเขตภาคกลาง จำนวน 132 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอละ 2 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน และ ครู กศน. จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น 264 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการนิเทศของผู้บริหารตามที่สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกำหนด กับคุณภาพการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการนิเทศของผู้บริหารของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอในเขตภาคกลาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า  อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านวางแผนการนิเทศและกำหนดทางเลือก ด้านศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ ด้านปฏิบัติการนิเทศ ด้านสรุปผลการนิเทศ และด้านสร้างสื่อและเครื่องมือการนิเทศ ตามลำดับ 2. คุณภาพการศึกษาของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอในเขตภาคกลาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ด้านคุณภาพการจัดการศึกษา และด้านคุณภาพของผู้เรียนหรือผู้รับบริการ ตามลำดับ 3. กระบวนการนิเทศของผู้บริหารกับคุณภาพการศึกษาของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอในเขตภาคกลาง มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเป็นความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectกระบวนการนิเทศของผู้บริหารth
dc.subjectคุณภาพการศึกษาth
dc.subjectsupervision processen
dc.subjecteducational qualityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE SUPERVISION PROCESS OF THE ADMINISTRATOR AND EDUCATIONAL QUALITY OF DISTRICT LEARNING ENCOURAGEMENT CENTERS IN THE CENTRAL REGIONen
dc.titleกระบวนการนิเทศของผู้บริหารกับคุณภาพการศึกษาของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอในเขตภาคกลางth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorVorakarn Suksodkiewen
dc.contributor.coadvisorวรกาญจน์ สุขสดเขียวth
dc.contributor.emailadvisorjee1199@yahoo.com
dc.contributor.emailcoadvisorjee1199@yahoo.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620018.pdf5.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.