Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPurida JUNKAEWen
dc.contributorปูริดา จั่นแก้วth
dc.contributor.advisorSangaun Inraken
dc.contributor.advisorสงวน อินทร์รักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-03T06:48:26Z-
dc.date.available2023-08-03T06:48:26Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4346-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to examine; 1) transformational leadership of school administrator under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom 2) internal supervision in school under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom and 3) the relationship between transformational leadership of school administrator and internal supervision in school under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom. The samples were 28 schools under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom. The respondents consisted of one school director, the head of supervision and one teacher, with a total of 84. The research instrument was an opinionnaire about transformational leadership of school administrator based on Fullan’s concept and internal supervision in school based on the CAPES framework of Tracey Harris’s Supervision. The statistics were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The results revealed that: 1. The transformational leadership of school administrator under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom as a whole was at high level. The arithmetic mean ranking from the highest to the lowest were as follows; making coherence, moral purpose, relationship building, knowledge, and understanding change. 2. The internal supervision in school under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom as a whole was at high level. The arithmetic mean ranking from the highest to the lowest were as follows; excellence in practice, partnerships & relationships, communication & language, skills & competencies, and attitudinal positioning. 3. The relationship between transformational leadership of school administrator and internal supervision in school under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Pathom was high correlation, with significantly at .01en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 2) การนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม จำนวนทั้งสิ้น 28 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล สถานศึกษาละ 3 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน หัวหน้างานนิเทศการศึกษา จำนวน 1 คน และครูผู้สอน จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น 84 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาตามแนวคิดของฟูลแลนและการนิเทศภายในสถานศึกษาตามแนวคิดของเทรซี่ แฮริส สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การทำให้เกิดความสามัคคี เป้าหมายทางด้านคุณธรรม การสร้างความสัมพันธ์ ความรู้ และความเข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลง 2. การนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาจำแนกตามรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ความเป็นเลิศในการปฏิบัติงาน ความร่วมมือและความสัมพันธ์ การสื่อสารและภาษา ทักษะและความสามารถ และ จุดยืนทางความคิด 3. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectการนิเทศภายในสถานศึกษาth
dc.subjectTRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORen
dc.subjectINTERNAL SUPERVISION IN SCHOOLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATOR AND INTERNAL SUPERVISION IN SCHOOL UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE NAKHON PATHOMen
dc.titleภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSangaun Inraken
dc.contributor.coadvisorสงวน อินทร์รักษ์th
dc.contributor.emailadvisorsan_inrak@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorsan_inrak@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620019.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.