Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4420
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanokwan JIRASIRICHOTen
dc.contributorกนกวรรณ จิระศิริโชติth
dc.contributor.advisorSuabsagun Yooyuanyongen
dc.contributor.advisorสืบสกุล อยู่ยืนยงth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-11T02:28:50Z-
dc.date.available2023-08-11T02:28:50Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4420-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to compare the learning achievement in the mathematics on fraction problem of fifth grade students by using scaffolding approach with criteria 70 percent 2) to compare mathematical problem solving ability on fraction problem of fifth grade students between before and after taught by using scaffolding approach. The sample group is the 42 fifth grade students, academic year 2022, Watphrapathomchedi School, Nakornpathom by purposive sampling. The instrument of this research consisted of 1) the mathematics lesson plan on fraction problem by using scaffolding approach for fifth grade students. 2) the mathematics achievement test on fraction problem of fifth grade students and 3) the mathematical problem solving ability test on fraction problem of fifth grade students. The statistics in the analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test for one sample and t-test for dependent sample. The results of the research were as follows: 1) post-learning achievement on fraction problem of fifth grade students by using scaffolding approach was higher than the criteria 70 percent or 7 points of total 10 points at statistical significance level of .05 2) the student who learned by using  scaffolding approach had mathematical problem solving ability on fraction problem higher than before learning at statistical significance level of .05en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนและก่อนเรียน โดยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้   กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีนักเรียนเข้าร่วมโครงการวิจัย 42 คน ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ (มหินทรศึกษาคาร) จังหวัดนครปฐม เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test for one sample และ t-test for dependent sample ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 หรือ 7 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่เรียนโดยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้มีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้th
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectorganizing learning activity using scaffolding approachen
dc.subjectmathematical problem solving abilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleEFFECTS OF ORGANIZING MATHEMATICS LEARNING ACTIVITY USING SCAFFOLDING APPROACH ON MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING ABILITY OF FIFTH GRADE STUDENTSen
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้แนวคิดการเสริมต่อการเรียนรู้ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSuabsagun Yooyuanyongen
dc.contributor.coadvisorสืบสกุล อยู่ยืนยงth
dc.contributor.emailadvisoryooynanyong_s@silpakorn.edu
dc.contributor.emailcoadvisoryooynanyong_s@silpakorn.edu
dc.description.degreenameMaster of Science (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMATHEMATICSen
dc.description.degreedisciplineคณิตศาสตร์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61316301.pdf4.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.