Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorEkkapun WANJAIen
dc.contributorเอกพันธ์ หวานใจth
dc.contributor.advisorParinya Roonphoen
dc.contributor.advisorปริญญา หรุ่นโพธิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-11T02:32:14Z-
dc.date.available2023-08-11T02:32:14Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4550-
dc.description.abstractAcademic position intention of academic staffs is very essential of academic staffs in higher education. The objectives of this research are 1) to study the level of Attitudes, Motivation, Career advancement, Recognition, Self-development and Academic position intention of academic staff of Silpakorn University; 2) to study the effects of Attitudes, Motivation, Career advancement, Recognition, Self-development and Academic position intention of academic staff of Silpakorn University. This is quantitative research and the sampling group are 250 academic staffs in Silpakorn University. The research tools are questionnaires and the quota sampling was designed, then convenience sampling was employed. Data analysis was analyzed by descriptive analysis and was investigated by Structural Equation Model. The research results reveal that 1) the results showed that the levels of Attitudes, Motivation, Career advancement, Recognition, Self-development and Academic position intention were high; 2) the hypothesis testing, the fifth hypotheses were supported: the effects of Attitudes, Motivation, Career advancement, Recognition, Self-development and Academic position intention of academic staffs at the statistically significant level of 0.01; and 3) the result of the Structural Equation Model indicated that the model fit to the empirical data by the indicators of CMIN/df = 2.495, RMR = 0.067, GFI = 0.876, TLI = 0.910, CFI = 0.937 และ RMSEA = 0.077. The implication of this study will be the direction for the higher education administrator to plan the policy. Furthermore, human resource department should support and motivate the academic staffs in order to create the quality work into the academic position process.en
dc.description.abstractการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการเป็นส่วนสำคัญของบุคคลกรสายวิชาการในระดับอุดมศึกษา งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับทัศนคติหรือเจตคติต่อการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ แรงจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการ ความก้าวหน้าในอาชีพ การเป็นที่ยอมรับนับถือ และการพัฒนาตนเองด้านวิชาการ และการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2) ศึกษาอิทธิพลของทัศนคติหรือเจตคติ แรงจูงใจ ความก้าวหน้าในอาชีพ การเป็นที่ยอมรับนับถือ และการพัฒนาตนเองด้านวิชาการ ที่ส่งผลต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ และ 3) เพื่อทดสอบโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร  งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน 250 คน โดยมีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา หลังจากนั้นจึงใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก โดยมีเครื่องมือวิจัยคือแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับของทัศนคติหรือเจตคติ แรงจูงใจ ความก้าวหน้าในอาชีพ การเป็นที่ยอมรับนับถือ การพัฒนาตนเองด้านวิชาการ และการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก 2) มีการยอมรับสมมติฐาน ทั้ง 5 สมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 คือ ทัศนคติหรือเจตคติ แรงจูงใจ ความก้าวหน้าในอาชีพ การเป็นที่ยอมรับนับถือ และการพัฒนาตนเองด้านวิชาการ ส่งผลเชิงบวกต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ และ 3) ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง มีค่าผลของโมเดลที่เหมาะสม ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์คือ CMIN/df = 2.495, RMR = 0.067, GFI = 0.876, TLI = 0.910, CFI = 0.937 และ RMSEA = 0.077 ประโยชน์ที่ได้จากงานวิจัยสามารถเป็นแนวทางให้ผู้บริหารนำไปวางแผนด้านนโยบาย ทั้งนี้ ทางฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ควรส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจบุคคลากรสายวิชาการให้สร้างผลงานที่มีคุณภาพเพื่อเข้าสู่กระบวนการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectทัศนคติ; แรงจูงใจ; ความก้าวหน้าในอาชีพ; การเป็นที่ยอมรับนับถือ; การพัฒนาตนเองด้านวิชาการ; การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการth
dc.subjectATTITUDE; MOTIVATION; CAREER ADVANCEMENT; RECOGNITION; SELF-DEVELOPMENT; ACADEMIC POSITION INTENTIONen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationPublic administration and defence; compulsory social securityen
dc.titleThe Causal Relationship Model of Factors Affecting Academic Position Intention of Academic Staffs, Silpakorn Universityen
dc.titleโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากรth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorParinya Roonphoen
dc.contributor.coadvisorปริญญา หรุ่นโพธิ์th
dc.contributor.emailadvisorparinya.r@ms.su.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorparinya.r@ms.su.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Arts (M.A.)en
dc.description.degreenameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641220026.pdf4.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.