Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4591
Title: Contemporary Art and Culture Management, Collaboration Between the State and Public Sector : A Case Study of the Bangkok Art and Culture CentRE.
การบริหารจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย โดยความร่วมมือระหว่างรัฐและภาคประชาชนกรณีศึกษา การบริหารจัดการหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
Authors: Theerarak PHIBULSIRI
ธีรรักษ์ พิบูลศิริ
Sutee Kunavichayanont
สุธี คุณาวิชยานนท์
Silpakorn University
Sutee Kunavichayanont
สุธี คุณาวิชยานนท์
popsutee@gmail.com
popsutee@gmail.com
Keywords: การบริหารจัดการ
ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
Management
Contemporary art
Bangkok Art and Culture Center
Issue Date:  4
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This research aimed to investigate the arrangement and administrative systems, purposes of establishment, organization structure, budget, source of investment funds, revenue procurement, benefits and remarkableness, problems of performance occurred in Bangkok Art and Culture Centre (bacc).  This study was the qualitative research which was investigation of document information with content analysis as the descriptive explanation. The data was collected from the sample by interview the purposive sampling using in-depth interview answered by 2 executives of Bangkok Art and Culture Centre. The results revealed that the arrangement and administrative systems of Bangkok Art and Culture Centre were managed as the institute underneath the foundation which could be more fluently administrated than other systems because the independence on resource management included human resource, physical resource and financial resource. The according resources affected to earning income ability instead of subsidy requirement from the government, qualifiedly and directly selecting the personnel in a line of work, readily operating, timely adjusting and preparing readiness to handle the future events effectively.      
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและลักษณะการบริหารจัดการ วัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง โครงสร้างองค์กร งบประมาณ แหล่งเงินทุน และการจัดหารายได้ ข้อดีและลักษณะเด่น ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพจากข้อมูลเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ในลักษณะพรรณนาความ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้บริหารสถาบันจำนวน 2 คน คณะกรรมการจำนวน 2 คน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 2 คน ผลการศึกษาพบว่า หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครมีรูปแบบและลักษณะการบริหารจัดการแบบสถาบันที่อยู่ภายใต้มูลนิธิ ที่สามารถบริหารงานหอศิลป์ได้คล่องตัวกว่ารูปแบบอื่น เนื่องจากมีอิสระในการบริหารทรัพยากรของตนเอง ทั้งทรัพยากรทางบุคคล ทางกายภาพ และทางการเงิน ทำให้สามารถหารายได้มาทดแทนการขออุดหนุนจากรัฐ คัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพได้ตรงสายงาน มีขั้นตอนการทำงานที่รวดเร็วขึ้น สามารถปรับตัวให้ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ และพร้อมรับมือกับเหตุการณ์ในอนาคตได้ดี
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4591
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60005203.pdf6.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.