Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4663
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sukanya RUANKAEW | en |
dc.contributor | สุกัญญา เรือนแก้ว | th |
dc.contributor.advisor | PRASIT AUETRAKULVIT | en |
dc.contributor.advisor | ประสิทธิ์ เอื้อตระกูลวิทย์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2023-08-11T02:54:47Z | - |
dc.date.available | 2023-08-11T02:54:47Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 4/7/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4663 | - |
dc.description.abstract | This typological research of prehistoric polished stone axe in Danchang district, Supanburi province, central Thailand, mainly studies tools from six archaeological site - Ban Hin Lad 3, Wat Wang Chorakhe, Thun Makok, Huai Lek Lai, Ban Lawa Wang Khwai 3, and Ban Lawa Wang Khwai 4; and tools which have been storeed at Phu Nam Ron and Ban Lawa Wang Khwai temple, to understand typology and distribution pattern of the polish stone axe in this particular district of central Thailand. Additionally, this research intends to illustrate the relationship between the form and the raw material of the polished axe in the prehistoric time Danchang district, Supanburi province. The result demonstrates that the most common polished stone axe styles are the Shoulder shape which is the nature of the sharp edge, showed the highest amount of bilateral adze bevel. Special styles include dagger-shaped, stone-cracking tools, blade-shaped and round-shaped stone-cracking tools, all of which are small in number compared to the Trapezoidal shape. A material stone used to make polished stone axes, examining the types of rocks by the stone literature method, unfolded that Polished stone axes were made of three types of stone: mudstone, spotted shale, greywacke, and mudstone chipped tools, which is a raw stone commonly found in the periphery of the Dan Chang District. The distribution of tools was found concentrated in archaeological sites around the Lam Ta Phoen stream and its tributaries and the Kra Sieo stream area. However, the tool's attributes found in the Lam Ta Phoen area are different from that of Kra Sieo - which are large, unwieldy and with or without rain scrubbing. | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อทำการศึกษารูปแบบเครื่องมือขวานหินขัดยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่พบจากการสำรวจในแหล่งโบราณคดี อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 6 แหล่ง ได้แก่ แหล่งโบราณคดีบ้านหินลาด 3 (ไร่ลุงบุญตา พงศ์วัน) แหล่งโบราณคดีวัดวังจระเข้ แหล่งโบราณคดีทุ่งมะกอก (วัดราษฎร์สามัคคีธรรม) แหล่งโบราณคดีห้วยเหล็กไหล แหล่งโบราณคดีบ้านละว้า-วังควาย 3 (ไร่ทองพัฒน์ จำปาเทศ) แหล่งโบราณคดีบ้านละว้า-วังควาย 4 (ไร่นายพินิจ เจงแจ่ม) และที่เก็บรักษาอยู่ที่วัดพุน้ำร้อน และวัดละว้า-วังควาย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบและการกระจายตัวของเครื่องมือขวานหินขัดในเขตอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบและหินวัตถุดิบของเครื่องมือขวานหินขัดในเขตอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นเครื่องมือขวานหินขัด เครื่องมือหินกะเทาะ เครื่องมือสะเก็ดหิน สะเก็ดหิน หินวัตถุดิบ และหินธรรมชาติ จำนวน 1,813 ชิ้น ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบเครื่องมือขวานหินขัดที่พบมากที่สุดคือ รูปทรงมีบ่า ลักษณะของส่วนคมพบส่วนคมแบบลาดสองด้านไม่เท่ากันในปริมาณมากที่สุด รูปแบบเครื่องมือขวานหินขัดแบบพิเศษ ได้แก่ เครื่องมือขวานหินขัดรูปทรงกริช และเครื่องมือหินกะเทาะรูปแบบพิเศษ ได้แก่ เครื่องมือหินกะเทาะรูปทรงใบมีด และรูปทรงกลม หินวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเครื่องมือขวานหินขัด และเครื่องมือหินกะเทาะ โดยการตรวจสอบชนิดของหินด้วยวิธีศิลาวรรณนาพบว่า เครื่องมือขวานหินขัดทำจากหิน 3 ประเภท ได้แก่ หินโคลน หินดินดาน และหินทรายตะกอนหยาบ และเครื่องมือหินกะเทาะทำจากหินโคลน ซึ่งเป็นหินวัตถุดิบที่พบในพื้นที่อำเภอด่านช้าง และการกระจายตัวของเครื่องมือขวานหินขัดพบหนาแน่นในแหล่งโบราณคดีบริเวณลำตะเพินและลำน้ำสาขา และบริเวณลำห้วยกระเสียว แต่รูปแบบเครื่องมือขวานหินขัดที่พบบริเวณลำตะเพินมีความแตกต่างจากบริเวณลำห้วยกระเสียวคือ มีขนาดใหญ่เทอะทะ และมีการขัดฝนหรือไม่มีการขัดฝนเลย | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ยุคก่อนประวัติศาสตร์ | th |
dc.subject | เครื่องมือขวานหินขัด | th |
dc.subject | ด่านช้าง | th |
dc.subject | สุพรรณบุรี | th |
dc.subject | Prehistoric | en |
dc.subject | polished stone axe | en |
dc.subject | Dan Chang district | en |
dc.subject | Supanburi province | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Arts, entertainment and recreation | en |
dc.subject.classification | History and archaeology | en |
dc.title | Typological Study of Prehistoric Polished Stone tools in Danchang District, Supanburi Province. | en |
dc.title | รูปแบบเครื่องมือขวานหินขัดยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | PRASIT AUETRAKULVIT | en |
dc.contributor.coadvisor | ประสิทธิ์ เอื้อตระกูลวิทย์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | pratieng@yahoo.com | |
dc.contributor.emailcoadvisor | pratieng@yahoo.com | |
dc.description.degreename | Master of Arts (M.A.) | en |
dc.description.degreename | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Archaeology | en |
dc.description.degreediscipline | โบราณคดี | th |
Appears in Collections: | Archaeology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60102203.pdf | 10.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.