Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4768
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKornkanok WONGKANLAYAen
dc.contributorกรกนก วงศ์กัลยาth
dc.contributor.advisorPrasert Intaraken
dc.contributor.advisorประเสริฐ อินทร์รักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-02-12T05:45:46Z-
dc.date.available2024-02-12T05:45:46Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued24/11/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4768-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to determine 1) emotional intelligence of school administrator under Samutsongkhram Primary Educational Service Area Office 2) teamwork of teacher in school under Samutsongkhram Primary Educational Service Area Office and 3) the relationship between emotional intelligence of school administrator and teamwork of teacher in school under Samutsongkhram Primary Educational Service Area Office. The sample were 59 schools under Samutsongkhram Primary Educational Service Area Office. The 2 respondents from each school were; a school administrator and a teacher. There were 118 respondents. The research instrument was an opinionnaire about emotional intelligence of school administrator based on Goleman’s concept, and teamwork of teacher in school based on Yukl's and Gardner’s concept. The statistical analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson's product moment correlation coefficient. The findings of this were as follows: 1) The emotional intelligence of school administrator under Samutsongkhram Primary Educational Service Area Office as a whole was at a highest level. When considered in each aspect there were ranking from the highest to the lowest arithmetic mean: self-regulation, self-awareness, self-motivation, social skills and empathy. 2) The teamwork of teacher in school under Samutsongkhram Primary Educational Service Area Office as a whole was at a high level. When considered in each aspect they ranked from the highest to the lowest arithmetic mean: member skills and role clarity, mutual trust, cohesiveness and cooperation, commitment to task objectives and strategies, accurate, shared mental models, member diversity, collective efficacy and potency, resources and political support, external coordination and Internal organization and coordination. 3) The relationship between emotional intelligence of school administrator and teamwork of teacher in school under Samutsongkhram Primary Educational Service Area Office was found positive relation at .01 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม 2) การทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม จำนวน 59 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 2 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน   1 คน และครู จำนวน 1 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 118 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามแนวความคิดของโกลแมน และการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา ตามแนวความคิดของยุคล์และการ์ดเนอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การจัดการอารมณ์ตนเอง การรับรู้อารมณ์ตนเอง การจูงใจตนเอง ทักษะทางสังคมและการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น 2. การทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ทักษะของสมาชิกกลุ่มและความชัดเจนของบทบาท ความไว้วางใจ ความสามัคคี และความร่วมมือ ความมุ่งมั่นทุ่มเทต่อเป้าหมายและกลยุทธ์ของภาระงาน รูปแบบความคิดที่ถูกต้องร่วมกัน ความหลากหลายของสมาชิก ประสิทธิภาพและศักยภาพขององค์กร ทรัพยากรและการสนับสนุน การประสานงานภายนอกองค์กร และการจัดองค์กรและการประสานงานภายในองค์กร 3. ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม มีความสัมพันธ์กันเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth
dc.subjectEMOTIONAL INTELLIGENCEen
dc.subjectTEAMWORKen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleEMOTIONAL INTELLIGENCE OF SCHOOL ADMINISTRATOR AND TEAMWORK OF TEACHER IN SCHOOL UNDER SAMUTSONGKHRAM PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICEen
dc.titleความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงครามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPrasert Intaraken
dc.contributor.coadvisorประเสริฐ อินทร์รักษ์th
dc.contributor.emailadvisorp_intarak@yahoo.co.th
dc.contributor.emailcoadvisorp_intarak@yahoo.co.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630620026.pdf5.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.