Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4895
Title: | THE APPLICATION FOR COLLECT PERFORMING AND MARKETING PROMOTION OF CLASSICAL MUSIC ON SMARTPHONE แอพพลิเคชั่นรวบรวมการแสดงและส่งเสริมการตลาดดนตรีคลาสสิกบนโทรศัพท์เคลื่อนที่สมาร์ทโฟน |
Authors: | Gittin HINSUI กฤติน หินซุย Yos Vaneeson ยศ วณีสอน Silpakorn University Yos Vaneeson ยศ วณีสอน vaneesorn_y@silpakorn.edu vaneesorn_y@silpakorn.edu |
Keywords: | ดนตรีคลาสสิก แอพพลิเคชั่น การส่งเสริมการตลาด การตลาดดนตรี Classical Music Application Music Marketing marketing |
Issue Date: | 12 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | This research has the objectives for study the guidelines for creating an application for collect the shows and promote marketing of Classical music. This research is Mixed Method Research, consist of qualitative research and quantitative data research. Qualitative research came from 4 interviewees by in-depth interview as following; 2 Business experts from Start UP, 1 classical musician, and 1 Application developer. Quantitative data research, researcher used 400 questionnaires to gathered data analysis and statistics used in data analysis are Frequencies Distribution, Percentage, Mean, Standard Deviation and perform hypothesis testing using one-way ANOVA. From the interview, the expert discovered that the main problem to create the application for collect Classical music shows are the number of people in the target group is low because the marketing of Classical music in Thailand is still not growing enough. However, this problem is opportunity to reach target group directly and covered. For business, the obstacle is revenue that is not too high.
The Results of the quantitative data research showed that the questionnaires were answered mostly by male, aged 21-30 years old with income not exceeding 10,000 Baht per month, student status who study in Music major and mostly play Woodwind Instrument and Brass instrument. Most behaviors of these target groups have never purchased applications or buy additional functions. The way to recognize applications mostly from recommendations from friends or acquaintance. Respondents from questionnaire are interested in application that can collect Classical music shows for receive news about Classical music. The most important factor affects to selection the applications is able to download from all operating systems, next is the display format of the application (Interface) which is beautiful and comfortable for use.
When use 4P’s Marketing Mix theory, the respondents gave priority to Product, Price and Promotion but place is the first priority for them. When compare with the general data and the factor which is affecting to choose application found different gender, different age, different occupation did not affect in selecting an application. การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดทำแอปพลิเคชั่นรวบรวมการแสดงและส่งเสริมการตลาดดนตรีคลาสสิก เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยเชิงคุณภายนั้น ได้มาจากการสัมภาษณ์เชิงลึก 4 ราย ดังนี้ ผู้เชี่ยวชาญด้านธุรกิจ Start UP จำนวน 2 ราย นักดนตรีคลาสสิก 1 ราย และนักพัฒนาแอปพลิเคชั่น 1 ราย ด้านข้อมูลเชิงปริมาณผู้วิจัยได้เก็บแบบสอบถามจำนวน 400 ราย เพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ (Frequencies Distribution) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และทำการทดสอบสมมติฐานโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญพบว่า ปัญหาหลักในการจัดทำแอพพลิเคชั่นรวบรวมการแสดงดนตรีคลาสสิกนี้อยู่ที่กลุ่มประชากรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีจำนวนน้อยตลาดดนตรีคลาสสิกภายในประเทศไทยยังไม่เติบโต แต่ถึงอย่างไรก็ตามในปัญหานี้ยังเป็นโอกาสที่จะสามารถทำให้เข้าหากลุ่มเป้าหมายได้อย่างตรงกลุ่มและครอบคลุม โดยด้านธุรกิจนั้นอุปสรรคคือการที่มีรายได้ (Revenue) ที่ยังไม่สูงมาก ผลการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 21-30 ปี มีรายได้ไม่เกิน 10,000 บาทต่อเดือน โดยเป็นนักศึกษาดนตรีที่เล่นเครื่องเป่าเป็นส่วนใหญ่ โดยพฤติกรรมส่วนใหญ่ของกลุ่มเป้าหมายเหล่านี้ไม่เคยซื้อแอพพลิเคชั่นผ่านและซื้อฟังก์ชั่นเพิ่มเติมภายในแอพพลิเคชั่น โดยช่องทางในการรู้จักแอพพลิเคชั่นส่วนใหญ่ มาจากมากแนะนำจากเพื่อนหรือคนรู้จัก โดยผู้กรอกแบบสอบถามมีความสนใจในการนำแอพพลิเคชั่นรวบรวมดนตรีคลาสสิกไปในด้านรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับดนตรีคลาสสิกเป็นส่วนใหญ่ ทางด้านปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้แอพพลิเคชั่นมากที่สุดคือการดาวน์โหลดได้จากทุกระบบปฏิบัติการ รองลงมาคือรูปแบบการแสดงแอพพลิเคชั่น(Interface) ที่สวยงามสบายตาเป็นระเบียบต่อการใช้งาน เมื่อใช้ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด 4P’s (4P’s Marketing Mix) ผู้กรอกแบบสอบถามให้ความสำคัญกับProduct ,Price,Promotion ในระดับมาก ส่วน Place ให้ความสำคัญในระดับมากที่สุด โดยเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลทั่วไปกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้แอพพลิเคชั่นปรากฏผลออกมาว่า เพศที่แตกต่าง อายุที่แตกต่าง อาชีพที่แตกต่าง ไม่ส่งผลในการเลือกใช้แอพพลิเคชั่น |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4895 |
Appears in Collections: | Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60701311.pdf | 3.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.