Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5036
Title: Architectural drawing: Between the neutral artifacts to the ideal representation of architecture
ภาพวาดทางสถาปัตยกรรม : ระหว่างสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นกลางจนเป็นตัวแทนอุดมการณ์ของสถาปัตยกรรม
Authors: Kantachat TONWEERACHAISKUL
กันตชาติ ตันวีระชัยสกุล
Tanakarn Mokkhasmita
ธนาคาร โมกขะสมิต
Silpakorn University
Tanakarn Mokkhasmita
ธนาคาร โมกขะสมิต
m.tanakarn@gmail.com
m.tanakarn@gmail.com
Keywords: ภาพวาดทางสถาปัตยกรรม
เทคนิคการสื่อสาร
อุดมการณ์ทางสถาปัตยกรรม
Architectural drawings
Communication techniques
Architectural ideologies
Issue Date:  28
Publisher: Silpakorn University
Abstract: Architectural drawings are an artistic and technical expression used to communicate architectural concepts and details. Architects and designers utilize drawings to explore, experiment, and disseminate architectural ideas or ideologies. Consequently, architectural drawings serve as representations that record the architectural ideologies prevalent at different times, from the past to the present. This thesis explores various turning points in architectural drawings since the early history of architecture. It highlights the efforts to "embed information" through fundamental presentation tools (plans, elevations, sections, perspectives), employing strategies to reveal, conceal, or imply information based on the expectations of the perceiver or "architect." This leads to an analysis of case studies in architectural drawings across different topics to uncover the methods and strategies used by architects to present architectural concepts in a way that others can interpret. The aim is to understand why architectural drawings, despite differences in composition, technique, and presentation methods, can still be understood and interpreted by viewers consistently.
ภาพวาดทางสถาปัตยกรรมเป็นการแสดงออกทางศิลปะและเทคนิคที่ใช้ในการสื่อสารแนวคิดและรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิกและนักออกแบบใช้ภาพวาดในการสำรวจ ทดลอง และเผยแพร่แนวคิดหรืออุดมการณ์ทางสถาปัตยกรรม ภาพวาดทางสถาปัตยกรรมจึงเป็นหนึ่งในตัวแทนสถาปัตยกรรมที่บันทึกอุดมการณ์ทางสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นตั้งแต่อดีตจนถึงยุคปัจจุบัน วิทยานิพนธ์นี้เป็นการพาไปสำรวจจุดเปลี่ยนต่างๆที่เกิดขึ้นในภาพวาดทางสถาปัตยกรรมตั้งแต่ยุคเริ่มต้นของประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม เราได้เห็นความพยายามในการ”แทรกข้อมูล”ผ่านเครื่องมือพื้นฐานในการนำเสนอ (ผัง รูปด้าน รูปตัด ทัศนียภาพ) โดยมีกลวิธีในการเปิดเผย แอบซ่อนข้อมูล หรือบอกโดยนัยตามความคาดหวังในการรับรู้ของผู้สื่อสารหรือ ”สถาปนิก” นำไปสู่การวิเคราะห์กรณีศึกษาภาพวาดทางสถาปัตยกรรมในหัวข้อต่างๆเพื่อหาวิธีการและกลยุทธ์ต่างๆของสถาปนิกที่ในการนำเสนอแนวคิดทางสถาปัตยกรรมให้ผู้อื่นสามารถตีความได้ เพื่อเข้าใจถึงเหตุผลที่ภาพวาดทางสถาปัตยกรรมนั้น แม้จะมีความแตกต่างกันทั้งองค์ประกอบ เทคนิค วิธีการนำเสนอ แต่ยังสามารถถูกเข้าใจและตีความจากผู้ชมได้เหมือนเดิม
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5036
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650220016.pdf19.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.