Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5041
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChonchanok SAMRITen
dc.contributorชนม์ชนก สัมฤทธิ์th
dc.contributor.advisorRasmi Shoocongdejen
dc.contributor.advisorรัศมี ชูทรงเดชth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:13:22Z-
dc.date.available2024-08-01T07:13:22Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5041-
dc.description.abstractThis research aims to study the communities of practice in craft production networks in Log Coffin culture in Pang Mapha district, Mae Hong Son province (2,120-1,250 B.P.) The concept of community of practice and social network theory were used as theoretical frameworks. The research samples comprised 206 coffins, 4,273 potsherds, 43 iron tools, and 57 iron bangles from 34 archaeological sites. They were analyzed using comparative stylistic and technical analysis, and social network analysis. The results reveal that 1) from 2,120 to 1,250 B.P., craft production of Log Coffin culture included 17 practices that were consistently operated in virtually identical trends over time. In addition, 67 practices which craft makers in each sub-watershed applied in different ways for a short period. 2) During 2,000-1,800 B.P., styles and raw materials in Lang, Khong, and Mae Lana sub-watershed continued to be more diverse and reached a high point in 1,700 B.P. This shift reflects the migration of populations into the highland. During 1,600-1,200 B.P., people occupied not only the formerly three locales but also Huay Pong San Pik. However, stylistic and technical variation gradually declined, whereas typical practices persisted. 3) Lang and Mae Lana share similar cultures and were inhabited for multiple generations. Additionally, modified teeth, bronze objects, Srivatsa coin, cowries, and glass beads were found in the area. 4) Knowledge and skill are transmitted among participants within and between sub-watersheds.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดภูมิปัญญาในเครือข่ายการผลิตสิ่งของเครื่องใช้ของวัฒนธรรมโลงไม้ อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ช่วง 2,120-1,250 ปีมาแล้ว โดยใช้แนวคิดแนวปฏิบัติของชุมชน ทฤษฎีเครือข่ายทางสังคม การเปรียบเทียบรูปแบบและเทคนิคการผลิต และการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม วิเคราะห์โลงไม้ 206 โลง ชิ้นส่วนภาชนะดินเผา 4,273 ชิ้น เครื่องมือเหล็ก 43 ชิ้น และห่วงเหล็ก 57 วง จากแหล่งโบราณคดีวัฒนธรรมโลงไม้ 34 แห่ง ผลการวิจัยพบว่า 1) ระหว่าง 2,120-1,250 ปีมาแล้ว วัฒนธรรมโลงไม้มีแบบแผนการผลิตสิ่งของเครื่องใช้ที่ช่างในลุ่มน้ำสาขาต่าง ๆ ทำโดยทั่วไปและสืบทอดต่อเนื่องหลายช่วงเวลา จำนวน 17 กลุ่ม และมีแบบแผนที่แตกต่างกันซึ่งทำโดยช่างในบางลุ่มน้ำและทำชั่วคราวในเวลาสั้น ๆ จำนวน 67 กลุ่ม 2) ช่วง 2,000-1,800 ปีมาแล้ว ผู้คนตั้งถิ่นฐานในลุ่มน้ำสาขาลาง ของ และแม่ละนา รูปแบบและเทคนิคการผลิตวัตถุทางวัฒนธรรมค่อย ๆ หลากหลายมากขึ้น โดยเพิ่มขึ้นสูงสุดในช่วง 1,700 ปีมาแล้ว แสดงว่าอาจเป็นช่วงที่ผู้คนอพยพเข้ามาในบริเวณพื้นที่สูง จากนั้นในช่วง 1,600-1,200 ปีมาแล้ว นอกจากลุ่มน้ำสาขาลาง ของ และแม่ละนา ผู้คนตั้งถิ่นฐานในลุ่มน้ำสาขา ห้วยโป่งแสนปิ๊กด้วย ในช่วงนี้ลุ่มน้ำสาขาทั้งสี่สายพบเฉพาะรูปแบบและเทคนิคดั้งเดิม ซึ่งลุ่มน้ำสาขาลาง ของ และแม่ละนามีรูปแบบและเทคนิคการผลิตที่หลากหลายน้อยลง 3) ลุ่มน้ำสาขาลางและ แม่ละนามีแบบแผนการผลิตคล้ายกันมากที่สุด มีวัฒนธรรมที่หลากหลายแต่ในขณะเดียวกันยังคงมีวัฒนธรรมดั้งเดิม แสดงว่าผู้คนในลุ่มน้ำนี้มีวัฒนธรรมร่วมและมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งอาจเป็นกลุ่มคนดั้งเดิมและคนกลุ่มใหม่ที่ใช้พื้นที่ต่อเนื่องหลายสมัย นอกจากนี้ยังเป็นพื้นที่ที่พบโบราณวัตถุชิ้นพิเศษ ได้แก่ ฟันตกแต่ง วัตถุสำริด เหรียญศรีวัตสะ หอยเบี้ย และลูกปัดแก้ว และ 4) คนวัฒนธรรมโลงไม้มีภูมิปัญญาและทักษะในการผลิตงานฝีมือ โดยอาจถ่ายทอดภูมิปัญญาภายในกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรมเดียวกันในลุ่มน้ำสาขาเดียวกันและต่างลุ่มน้ำth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมth
dc.subjectแนวปฏิบัติของชุมชนth
dc.subjectการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมth
dc.subjectวัฒนธรรมโลงไม้th
dc.subjectsocial interactionen
dc.subjectcommunity of practiceen
dc.subjectsocial network analysisen
dc.subjectLog Coffin cultureen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationOther service activitiesen
dc.subject.classificationHistory and archaeologyen
dc.titleSOCIAL INTERACTION OF LOG COFFIN CULTURE POPULATIONSIN HIGHLAND PANG MAPHA, MAE HONG SON PROVINCE (2,120-1,250 B.P.)en
dc.titleการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของคนวัฒนธรรมโลงไม้บนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ช่วง 2,120-1,250 ปีมาแล้วth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorRasmi Shoocongdejen
dc.contributor.coadvisorรัศมี ชูทรงเดชth
dc.contributor.emailadvisorrasmi@su.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorrasmi@su.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineArchaeologyen
dc.description.degreedisciplineโบราณคดีth
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59102801.pdf14.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.