Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/51
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorคำหอมรื่น, สุรัตน์-
dc.contributor.authorKAMHOMRUEN, SURAT-
dc.date.accessioned2017-08-25T03:28:35Z-
dc.date.available2017-08-25T03:28:35Z-
dc.date.issued2559-06-23-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/51-
dc.description55255322 ; สาขาวิชาการสอนภาษาไทย -- สุรัตน์ คำหอมรื่นen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการแต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึก 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึก กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนวัดไผ่โรงวัว จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 26 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ใช้เวลาจัดการ เรียนรู้ จำนวน 3 สัปดาห์ รวม 11 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง การแต่งกลอนสุภาพ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึก 2) แบบฝึก 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ด้านการแต่งกลอนสุภาพ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการแต่งกลอนสุภาพของนักเรียน ค่าเฉลี่ยของคะแนนหลัง การเรียนรู้สูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการเรียนรู้ เรื่องการแต่งกลอนสุภาพ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึก พบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ซึ่งแต่ละด้านพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากในทุกด้าน คือ ด้านบรรยากาศ การจัดการเรียนรู้ และด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามลำดับ The purposes of this research were 1) to compare the poetic writing ability of the Grade 6 students taught by using the CIRC technique with exercises, 2) to study the Grade 6 students’ opinion about using the CIRC technique with exercises. The samples were 26 Grade 6 students from Wat Pai Rong Wua school, Suphanburi province in second semester of the academic year 2015. They were selected by simple random sampling. The instruction was conducted by the researcher for 11 hours. The research instruments were 1) lesson plan by using the CIRC technique with exercises, 2) exercises ,3) poetry writing ability test and 4) questionnaires of students’ opinion toward using the CIRC technique with exercises. The statistical analysis were mean, standard deviation and t-test dependent. The results of this research were: 1) The poetic writing ability of Grade 6 students taught by using the CIRC technique with exercises was higher at 0.05 level of significant after the using the CIRC technique. 2) The students’ opinion toward using the CIRC technique with exercises was positively in high agreement level in all aspects, both the learning environment and leaning activities aspects.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectการแต่งกลอนสุภาพen_US
dc.subjectแบบฝึกen_US
dc.subjectเทคนิค CIRCen_US
dc.subjectEXERCISESen_US
dc.subjectPOETIC WRITINGen_US
dc.subjectCIRC TECHNIQUEen_US
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึก.en_US
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF POETIC WRITING FOR GRADE 6 STUDENTS BY USING THE CIRC TECHNIQUE WITH EXERCISES.en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
55255322 สุรัตน์ คำหอมรื่น.pdf8.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.