Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5256
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKittee INHADKKRUADen
dc.contributorกฤตธี อินหาดกรวดth
dc.contributor.advisorRatana Srithusen
dc.contributor.advisorรัตนา ศรีทัศน์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-13T06:41:43Z-
dc.date.available2024-08-13T06:41:43Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5256-
dc.description.abstractThe research aimed to: 1) compare the learning achievements in mathematics before and after learning by the cooperative learning technique TGT and the achievement after learning with 70 percent criterion  2) compare the problem solving abilities of students after learning by the cooperative learning technique TGT with 70 percent criterion  3) compare the mathematical communication ability of students after learning by the cooperative learning technique TGT with 70 percent criterion and 4) study the satisfaction of the students towards the cooperative learning technique TGT. The statistics used for data analysis were: mean, percentage, standard deviation, t-test for dependent samples and t-test for one samples.  The sample group consisted of 25 eighth-grade students at Banharn Jamsai Wittaya 6 School, derived by cluster random sampling. The research instruments were: 1) lesson plans 2) an achievement test 3) an ability test on problem solving and mathematical communication abilities and 4) a satisfaction assessment form. The results showed that: 1) the students’ learning achievement after learning by the cooperative learning technique TGT was higher than that of before and than 70 percent criterion with statistical significance at .05  2) the students’ problem solving after learning was higher than 70 percent criterion at significant level .05  3) the students’ mathematical communication ability after learning was higher than 70 percent criterion at significant level .05 4) the level of satisfaction from the student as a whole was the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT กับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT กับเกณฑ์ร้อยละ 70 4) เปรียบเทียบความสามารถในการสื่อสารหลังเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT กับเกณฑ์ร้อยละ 70 5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  t-test for dependent samples และ t-test for one samples กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 6 จำนวน 25 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาและการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการแก้ปัญหา หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหา; ความสามารถในการสื่อสาร; การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGTth
dc.subjectproblem solving ability; mathematical communication ability; the cooperative learning technique TGTen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleDevelopment of Mathematical Problem Solving and Communication Abilities using the Cooperative Learning Technique TGT on Factoring Quadratic Polynomial of Mathayom 2 Students at Banharn Jamsai Wittaya 6 Schoolen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ด้วยการจัด การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorRatana Srithusen
dc.contributor.coadvisorรัตนา ศรีทัศน์th
dc.contributor.emailadvisorsrithat_r@su.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsrithat_r@su.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Science (M.Sc.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMATHEMATICSen
dc.description.degreedisciplineคณิตศาสตร์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61316317.pdf7.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.