Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5295
Title: Improvement of frozen-thawed semen Quality of Thai native chicken through supplement of Polysucrose
การปรับปรุงคุณภาพน้ำเชื้อแบบแช่แข็งของไก่พันธุ์พื้นเมืองไทยโดยใช้สารกลุ่มโพลีซูโครส
Authors: Chonchanok CHUMPINIJ
ชนน์ชนก ชุมพินิจ
Phirawit Chuawongboon
พิรวิทย์ เชื้อวงษ์บุญ
Silpakorn University
Phirawit Chuawongboon
พิรวิทย์ เชื้อวงษ์บุญ
phirawit@su.ac.th
phirawit@su.ac.th
Keywords: ไก่พื้นเมือง
น้ำเชื้อแช่แข็ง
สารโพลีซูโครส
อัตราการผสมติด
Thai native chicken
Artificial insemination
Histopaque
Frozen-thawed semen
Issue Date:  28
Publisher: Silpakorn University
Abstract: Thai native chicken are serving as a  household food security item to main or additional source of family income. Increasing the number of Thai native chickens can be released naturally or artificial insemination that parents can be selected for breeding, giving us the desired breed of chicken. But sperm of chicken can live short time at outside so we should improve sperm quality by frozen semen. This study consists of two experiments. Experiment 1 aim to study optimal level of polysucrose (Histopaque®) in frozen-thawed semen of Thai native chicken by studying the percentage of sperm motility, progressive motility and viability supplemented in Schramm mix with DMF 6% at concentrations of 0%, 1.25%, 2.5%, 5%, 10% and 20%. All treatments were assigned in a completely randomized design (CRD). This study showed that the sperm in the group 1.25% and 2.5% histoplaque had the highest percentage of total motility (53.53 and 52.11% respectively) and viability (52.14% and 51.37% respectively) compared to the other groups.  (P
ไก่พื้นเมืองไทย มีความสําคัญทางด้านเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของคนไทยมานาน เนื่องจากสามารถเลี้ยงไว้เพื่อบริโภค หรือขายเพื่อเพิ่มรายได้ในครัวเรือน การเพิ่มจำนวนไก่พื้นเมืองสามารถปล่อยตามธรรมชาติหรือทำการผสมเทียมเพื่อสามารถคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ที่จะนำมาผสมทำให้เราได้สายพันธุ์ไก่ตามที่ต้องการ แต่อย่างไรก็ตาม การผสมเทียมมีข้อจำกัดคือ น้ำเชื้อไก่อยู่ภายนอกได้ในระยะเวลาสั้น จึงได้มีเทคนิคการทำน้ำเชื้อแช่แข็งเพื่อเพิ่มระยะเวลาในการเก็บรักษา การศึกษานี้จึงจัดทำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำน้ำเชื้อแช่แข็ง ซึ่งประกอบด้วย 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับที่เหมาะสมของ Histopaque® ต่อคุณภาพน้ำเชื้อ ทำการวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) แบ่งออกเป็น 6 กลุ่มการทดลอง กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุม (Control groups) น้ำยาเจือจาง Schramm+DMF6% กลุ่มที่ 2 น้ำยาเจือจาง Schramm+ DMF6%+Histopaque®  1.25% กลุ่มที่ 3 น้ำยาเจือจาง Schramm+ DMF6%+Histopaque® 2.5% กลุ่มที่ 4 น้ำยาเจือจาง Schramm+DMF6%+Histopaque® 5% กลุ่มที่5 น้ำยาเจือจาง Schramm+DMF6%+ Histopaque® 10% กลุ่มที่ 6 น้ำยาเจือจาง Schramm+ DMF6%+Histopaque®  20% จากการศึกษาร้อยละการเคลื่อนที่แบบหมู่ ร้อยละการเคลื่อนที่รวม ร้อยละการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า และ อัตราการรอดชีวิต พบว่าในกลุ่มที่เสริม Histopaque 1.25% และ กลุ่มที่เสริม Histoplaque 2.5% มีร้อยละการเคลื่อนที่รวม 53.53% และ 52.11% ตามลำดับ และอัตราการรอดชีวิต 52.24% และ 51.37% ตามลำดับ (P
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5295
Appears in Collections:Animal Sciences and Agricultural Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631120002.pdf7.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.