Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5322
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Aekapob JITTAKOTI | en |
dc.contributor | เอกภพ จิตตโคติ | th |
dc.contributor.advisor | SOPON PHUMEECHANYA | en |
dc.contributor.advisor | โสภณ ผู้มีจรรยา | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2024-08-13T06:44:52Z | - |
dc.date.available | 2024-08-13T06:44:52Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 28/6/2024 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5322 | - |
dc.description.abstract | This thesis presents a method for improving the efficiency of lip reading through the analysis of keyframes using CNN and LSTM working together, which combines the characteristics of image-based learning with sequential learning features. When attempting to enhance lip reading performance using the entire raw dataset, satisfactory results cannot be achieved. Thus, the selection of an appropriate number of frames and frame selection for learning directly affects the model's efficiency. The frame selection method is proposed through the Mediapipe face detection library in Python. The study divides experiments into three main groups: selecting 3, 5, and 10 frames. Additionally, the frame selection includes full-Lip image frames and half-Lip image frames options, based on the hypothesis of the symmetry of human body parts, both left and right. Furthermore, it demonstrates the reduction of input size by half and compares the performance of the obtained results. This proposes a lip reading method that has not been conducted before. The purpose of lip reading is to aid in speech retrieval from heavily corrupted audio-video files and also to facilitate communication for hearing-impaired individuals. In the database part, the AVDigits database, an English language database consisting of participants who are native and non-native speakers of English from 16 nationalities, is used. The results of this study show that the proposed models, including the crucial frame selection process, significantly improve lip reading performance for both full-Lip image and half-Lip image, achieving high and comparable results. | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอวิธีการพัฒนาประสิทธิภาพของการอ่านริมฝีปากผ่านการวิเคราะห์เฟรมสำคัญโดยใช้ CNN และ LSTM ที่ทำงานร่วมกันซึ่งเป็นการใช้คุณลักษณะของการเรียนรู้แบบรูปภาพร่วมกับคุณลักษณะการเรียนรู้แบบลำดับขั้น หากต้องการเพิ่มประสิทธิของการอ่านริมฝีปากการใช้ชุดข้อมูลดิบทั้งหมดไม่สามารถให้ผลลัพธ์ที่ดีได้ ดังนั้นการเลือกจำนวนเฟรมและเฟรมที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้จะส่งผลต่อประสิทธิภาพของแบบจำลองโดยตรง โดยวิธีการเลือกเฟรมได้ถูกนำเสนอผ่านไลบรารี่การตรวจจับใบหน้าของ Mediapipe บนโปรแกรมภาษา Python โดยการศึกษาได้มีการแบ่งการทดลองออกเป็น 3 กลุ่มหลัก นั่นคือ การเลือกจำนวนเฟรมที่ 3 5 และ 10 เฟรม อีกทั้งการเลือกเฟรมดังกล่าวยังแบ่งออกเป็นการเลือกแบบเฟรมเต็มปากและการเลือกแบบเฟรมครึ่งปาก โดยมีที่มาจากสมมติฐานเรื่องของความสมมาตรทางด้านร่างกายซ้ายและขวาของมนุษย์ อีกทั้งยังแสดงถึงการลดขนาดของอินพุตลงครึ่งนึงและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผลลัพธ์ที่ได้ ซึ่งเป็นการนำเสนอวิธีการวิธีการอ่านริมฝีปากที่ไม่มีงานวิจัยใดเคยทำมาก่อน โดยวัตถุประสงค์ของการอ่านริมฝีปากนั้น สามารถช่วยด้านการกู้ข้อมูลคำพูดจากไฟล์วิดีโอที่มีเสียงรบกวนจำนวนมาก รวมถึงการสื่อสารของผู้พิการทางการได้ยินด้วยเช่นกัน ในส่วนของฐานข้อมูลใช้ฐานข้อมูลที่ชื่อ AVDigits ซึ่งเป็นฐานข้อมูลภาษาอังกฤษที่มีการรวบรวมอาสาสมัครที่เป็นเจ้าของภาษาและไม่ใช่เจ้าของภาษากว่า 16 สัญชาติ โดยผลลัพธ์ทีได้จากการศึกษานี้พบว่า แบบจำลองที่ได้นำเสนอรวมถึงขั้นตอนของการเลือกเฟรมสำคัญทำให้ประสิทธิภาพของการอ่านริมฝีปากทั้งแบบเต็มปากและครึ่งปากให้ผลลัพธ์อยู่ในระดับที่สูงและมีความใกล้เคียงกัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การอ่านริมฝีปาก | th |
dc.subject | โครงข่ายประสาทเทียมแบบคอนโวลูชัน | th |
dc.subject | หน่วยความจำสั้นยาว | th |
dc.subject | Lip Reading | en |
dc.subject | Convolutional Neural Network | en |
dc.subject | Long Short-Term Memory | en |
dc.subject.classification | Engineering | en |
dc.subject.classification | Information and communication | en |
dc.subject.classification | Electronics and automation | en |
dc.title | Development of Lip Reading Method From Video Using Deep Learning | en |
dc.title | การพัฒนาวิธีการอ่านริมฝีปากจากภาพเคลื่อนไหวโดยใช้การเรียนรู้เชิงลึก | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | SOPON PHUMEECHANYA | en |
dc.contributor.coadvisor | โสภณ ผู้มีจรรยา | th |
dc.contributor.emailadvisor | phumeechanya_s@su.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | phumeechanya_s@su.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Engineering (M.Eng.) | en |
dc.description.degreename | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | ELECTRICAL ENGINEERING | en |
dc.description.degreediscipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | th |
Appears in Collections: | Engineering and Industrial Technology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640920030.pdf | 11.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.