Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5394
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnut CHOKPRADUBCHAIen
dc.contributorอาณัติ โชคประดับชัยth
dc.contributor.advisorPatteera Thienpermpoolen
dc.contributor.advisorภัทร์ธีรา เทียนเพิ่มพูลth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2025-02-21T06:04:11Z-
dc.date.available2025-02-21T06:04:11Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued22/11/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5394-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to   1) compare English reading comprehension achievement of sixth-grade students before and after being taught by using QAR strategy and 2) study the students’ opinions towards QAR strategy. The sample of this research was 40 sixth grade students of Anuban Kamphaengsaen school, Nakhon Pathom Province. The research instruments were 1) lesson plans, 2) a reading comprehension skill test, and 3) a questionnaire used to study the students’ opinions toward using QAR strategy. The data were analyzed by mean, standard deviation, and t-test. The findings were as follows:  1) English reading comprehension skills of sixth grade students after using QAR strategy were significantly higher than before at the .05 level.  2) The students’ overall opinion toward QAR strategy was at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ  1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน ก่อนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น  2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้กลยุทธ์ QAR กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้กลยุทธ์ QAR   2) แบบทดสอบวัดระดับผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้กลยุทธ์ QAR  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x̄)     ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า  1) ผลสัมฤทธิ์การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้กลยุทธ์ QAR หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05   2) ระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้กลยุทธ์ QAR โดยรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษ, การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ, กลยุทธ์ QARth
dc.subjectDEVELOPMENT OF ENGLISH READING READING COMPREHENSION SKILLS QUESTION-ANSWER RELATIONSHIPSen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Development of English Reading Comprehension Achievement Using the QAR technique for Grade 6 Studentsen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้เทคนิค QAR สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorPatteera Thienpermpoolen
dc.contributor.coadvisorภัทร์ธีรา เทียนเพิ่มพูลth
dc.contributor.emailadvisorthienpermpool@gmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorthienpermpool@gmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630620168.pdf4.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.