Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5406
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nampech TASABOOMRUNG | en |
dc.contributor | น้ำเพชร เทศะบำรุง | th |
dc.contributor.advisor | Siriwan Vanichwatanavorachai | en |
dc.contributor.advisor | ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2025-02-21T06:04:14Z | - |
dc.date.available | 2025-02-21T06:04:14Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 22/11/2024 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5406 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1) study the problems and needs assessment in developing a learning management model to enhance innovation development capabilities of undergraduate students majoring in Special Education, 2) develop the instructional model based on design thinking to enhance the innovative abilities of undergraduate students, 3) implement the design thinking-based learning management model, and 4) evaluate the effectiveness of the instructional model based on design thinking to enhance the innovative abilities in 4.1) Comparing Students' Knowledge of Design-Based Innovative development before and after implementing the model and 4.2) examining students' ability to develop innovations by design thinking. The data were analyzed by qualitative content analysis, mean (M), standard deviation (SD), percentage (%), and dependent t-test. The findings show that:1) The issues and needs regarding the learning management model to enhance innovation development abilities of undergraduate students show that the area of assessment and evaluation had a PNIModified value of 0.51, indicating the highest level of importance. 2) The results of developing a model revealed that an overall mean of 4.71 and a standard deviation of 0.46, indicating the highest level of appropriateness. 3) The implementation and evaluation of the instructional model revealed the following aspects: (3.1) The results showed a statistically significant improvement at the .05 level, with post-test knowledge scores significantly higher than pre-test scores after using model. (3.2) The evaluation of innovation development abilities based on the design thinking model higher than the percentage threshold Statistically significant at the .05 level | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมของนักศึกษา สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ ระดับปริญญาบัณฑิต 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมของนักศึกษา 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ 4) เพื่อประเมินประสิทธิผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรม ในประเด็นดังต่อไปนี้ 4.1) เพื่อเปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ 4.2) เพื่อศึกษาความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมตามแนวคิดเชิงออกแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ย (M) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน (SD) ค่าร้อยละ (%) และค่าทดสอบ t-test dependent ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมของนักศึกษา พบว่า ด้านการวัดและประเมิน มีค่า PNIModified เท่ากับ 0.51 ระดับความสำคัญมากที่สุด 2) ผลการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ พบว่า มีค่าเฉลี่ยรวมทั้งหมด เท่ากับ 4.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.46 มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มากที่สุด 3) การทดลองใช้และผลการประเมินประสิทธิผลรูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนา ในประเด็นดังต่อไปนี้ (3.1) ผลการเปรียบเทียบการประเมินความรู้หลังการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 (3.2) ผลการประเมินความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมตามแนวคิดเชิงออกแบบ สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | รูปแบบการสอน | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ | th |
dc.subject | กระบวนการสร้างนวัตกรรม | th |
dc.subject | การศึกษาพิเศษ | th |
dc.subject | Instructional | en |
dc.subject | Design Thinking | en |
dc.subject | Innovative | en |
dc.subject | Special Education | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for pre-school teachers | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL BASED ON DESIGN THINKING TO ENHANCE THE INNOVATIVE ABILITIES OF UNDERGRADUATE STUDENTS MAJORING IN SPECIAL EDUCATION | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาพิเศษ ระดับปริญญาบัณฑิต | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Siriwan Vanichwatanavorachai | en |
dc.contributor.coadvisor | ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | wantoo_@hotmail.com | |
dc.contributor.emailcoadvisor | wantoo_@hotmail.com | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Curriculum and Instruction | en |
dc.description.degreediscipline | หลักสูตรและวิธีสอน | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640630002.pdf | 11.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.