Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5430
Title: | THE DEVELOPMENT OF THAI LITERATURE ACHIEVEMENT OF MATTHAYOMSUKSA 4 STUDENTS BY USING MACRO MODEL การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO model |
Authors: | Sumet KHIAOSOPA สุเมธ เขียวโสภา Cholticha Homfung ชลธิชา หอมฟุ้ง Silpakorn University Cholticha Homfung ชลธิชา หอมฟุ้ง cholticha207@hotmail.com cholticha207@hotmail.com |
Keywords: | MACRO model ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทย MACRO model THAI LITERATURE ACHIEVEMENT |
Issue Date: | 22 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The purposes of this research were 1) to compare the Thai literature achievement of Mathayomsuksa 4 students before and after using the MACRO model 2) to study the satisfaction of Mathayomsuksa 4 students by using the MACRO model. The sample of this research selected by cluster random sampling were 36 Mathayomsuksa 4/2 students at Ratchaburi Municipality Demonstration School in the first semester of the academic year 2024. The tools were 1) lesson plans 2) Thai literature achievement test and 3) the satisfaction questionnaire. The data were analyzed by mean, standard deviation and the dependent sample t-test.
The results of the research were as follow:
1) The achievement of Thai literature of Mathayomsuksa 4 students after using the MACRO model is higher than before at the significant level of .05.
2) Mathayomsuksa 4 students are satisfied by using the MACRO model at the highest level. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างก่อนการจัดการเรียนรู้และหลังการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO model และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO model ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 จำนวน 36 คน โรงเรียนสาธิตเทศบาลเมืองราชบุรี ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO model 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทย และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO model วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO model สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO model ในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5430 |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650620027.pdf | 4.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.