Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/611
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นิ่มนวล, ภัททวิกรม์ | - |
dc.contributor.author | Nimnuan, Phattawikorn | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T02:17:09Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T02:17:09Z | - |
dc.date.issued | 2558-11-18 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/611 | - |
dc.description | 55107213 ; สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ -- ภัททวิกรม์ นิ่มนวล | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อต้องการศึกษารูปแบบของเจดีย์ทรงระฆังในจังหวัดจันทบุรี ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ ว่ามีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและมีคติการสร้างอย่างไร รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างกรุงเทพฯ กับเมืองจันทบุรีในสมัยนั้นมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร ทำไมจึงมีเจดีย์ทรงระฆังแบบพระราชนิยมสมัยรัชกาลที่ ๔ และเจดีย์ทรงระฆังรูปแบบ อื่น ๆ เกิดขึ้นที่เมืองจันทบุรี การศึกษาในครั้งนี้มีเจดีย์ที่ได้ทำการศึกษาทั้งหมด ๘ องค์ คือ พระเจดีย์วัดโยธานิมิต พระเจดีย์ที่เชิงเขาสระบาป พระเจดีย์วัดไผ่ล้อม พระเจดีย์วัดทองทั่วด้านทิศตะวันตกและทิศตะวันออกเฉียงใต้ อลงกรณ์เจดีย์ เจดีย์อิสรภาพ และเจดีย์วัดโบสถ์เมือง โดยทำการแบ่งกลุ่มในการศึกษาของเป็น ๒ กลุ่ม คือ ๑. กลุ่มเจดีย์ทรงระฆังที่มีส่วนรองรับองค์ระฆังเป็นมาลัยเถาสามชั้น ๒. กลุ่มเจดีย์ทรงระฆังที่มีส่วนรองรับองค์ระฆังเป็นมาลัยเถามากกว่าสามชั้น ผลที่ได้จากการศึกษาพบว่า เจดีย์ทรงระฆังที่พบในเมืองจันทบุรี มีรูปแบบที่เป็นเจดีย์แบบพระราชนิยมสมัยรัชกาลที่ ๔ อย่างแท้จริง ที่มีความเกี่ยวข้องกับการเสด็จประพาสหัวเมืองจันทบุรีในสมัยรัชกาลที่ ๔ และในสมัยรัชกาลที่ ๕ นอกจากนี้ยังมีรูปแบบงานช่างระดับท้องถิ่นของเจ้าเมืองที่สร้างเจดีย์ขึ้นตามคติความเชื่อของเจดีย์ปากน้ำ และมีการนำเอารูปแบบเจดีย์แบบพระราชนิยมมาสร้างเป็นงานของตนเองที่มีรูปแบบโดยรวมที่ใกล้เคียงกัน สำหรับงานช่างกลุ่มสุดท้ายนี้เป็นงานช่างเฉพาะตัวบุคคลที่เข้ามามีบทบาทที่เมืองจันทบุรี และมีการสร้างเจดีย์ทรงระฆังที่มีรูปแบบผสมสานระหว่างเจดีย์แบบพระราชนิยมกับมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะบุคคล The purposes of this study were to study patterns of bell – shaped Chedi in the 24-25 centuries A.D. in Chanthaburi province concerning architectural patterns and style as well as building concept. This research further studied: the relationship between Bangkok and Chanthaburi at that time; and why Rama IV era’s bell – shaped chedi occurred in Chanthaburi. The chedi considered in this study consisted of 8 chedi which were Chedi at Yothanimit temple, Chedi at Khao Sabab’s foothills, Chedi at Pai Lom temple, west and southeast Chedi of Thong Tour temple, Alongkorn Chedi, Itsaraphap Chedi, and Chedi at Bot Muang temple. The chedi in this study were divided into 2 groups which were 1) bell – shaped chedi in which the platform was a series of three convex mouldings and 2) bell – shaped chedis in which the platform was a series of more than three convex mouldings. The result of this study showed that the bell – shaped chedi in Chanthaburi were truly King Rama IV royal concept of Chedi concerning royal visits to Chanthaburi in King Rama IV and King Rama V’s era. Secondly, there was a form of local skill of the ruler who built the chedi inspired by Pak Nam Chedi belief and used the royal concept of chedi as a model, causing the overall shape looked familiar to the royal concept one. Finally, the last form of craft was individual skill of crafting which paid a role in Chanthaburi. Also, building chedi was way more integrating between royal concept and individual style. | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | เจดีย์ทรงระฆัง | en_US |
dc.subject | พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ | en_US |
dc.subject | ศิลปะรัตนโกสินทร์ | en_US |
dc.subject | BELL-SHAPED CHEDI | en_US |
dc.subject | 24-25 CENTURIES | en_US |
dc.subject | RATTANAKOSIN ART | en_US |
dc.title | เจดีย์ทรงระฆังสมัยรัตนโกสินทร์ในจังหวัดจันทบุรี พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ | en_US |
dc.title.alternative | BELL-SHAPED CHEDI AT THE 24-25 CENTURIES A.D. IN CHANTHABURI PROVINCE | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Archaeology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
55107213 ภัททวิกรม์ นิ่มนวล.pdf | 67.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.