Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/614
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | หิรัญเตียรณกุล, ศุภภัสสร | - |
dc.contributor.author | Hiruntiaranakul, Supapassor | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T02:17:55Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T02:17:55Z | - |
dc.date.issued | 2559-08-04 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/614 | - |
dc.description | 54102202 ; สาขาวิชาโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ -- ศุภภัสสร หิรัญเตียรณกุล | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์และจัดจำแนกรูปแบบขวานหินขัดที่พบในแหล่งโบราณคดีเขตอำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 8 แหล่ง โดยใช้วิธีการศึกษาการแพร่กระจายและการจำแนกรูปแบบ และนำข้อมูลที่ได้ไปเปรียบเทียบกับข้อมูลของขวานหินขัดจากแหล่งโบราณคดีอื่นในบริเวณภาคกลาง เพื่อหาว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบของขวานหินขัดที่พบมากที่สุดจากแหล่งโบราณคดีเขตอำเภอด่านช้าง คือ ขวานหินขัดประเภท Adze แบบ Bilateral bevel ส่วนรูปทรงที่พบมากที่สุดคือ รูปทรงสี่เหลี่ยมคางหมู วัสดุที่ใช้ผลิตขวานหินขัดส่วนใหญ่เป็นหิน Mudstone รูปแบบการแพร่กระจายของขวานหินขัดในพื้นที่ ส่วนใหญ่พบการแพร่กระจายตาม แหล่งโบราณดีที่อยู่ริมแม่น้ำ จากหลักฐาน บ่งชี้ว่าแหล่งโบราณคดีเขตอำเภอด่านช้าง มีการผลิตขวานหินขัดขึ้นใช้เองในชุมชน และมีการติดต่อกันระหว่างแหล่งในเขตอำเภอด่านช้างและแหล่งใกล้เคียง เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูล ขวานหินขัดจากแหล่งโบราณคดีอื่นในภาคกลาง พบความแตกต่างเล็กน้อยในเรื่องของขนาด และ ลักษณะด้านตัดของเครื่องมือ This study was conducted in order to analyze and classify polished stone adzes form found in 8 archeological sites of Krasaew Gully, Dan Chang district, Suphan Buri province by using diffusion and typological analysis and comparing the data with those from other sites in central region to study whether they are different or not, if yes, how? The study shows that most adzes found in the archeological sites of Krasaew Gully are bilateral bevel polished stone adzes. In addition, most stone adzes have a shape of trapezoid. Mudstone is the main material used to crafted polished stone adzes. Most polished stone adzes in the areas are found in the riversides. The evidence as well shows that polished stone adzes are crafted to use within the community. Compared with the data of polished stone adzes from other archeological sites in central region, There are slight different between forms and cross sections. | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | ขวานหินขัด | en_US |
dc.subject | เครื่องมือหิน | en_US |
dc.subject | สมัยก่อนประวัติศาสตร์ | en_US |
dc.subject | POLISHED STONE ADZES | en_US |
dc.subject | STONE TOOLS | en_US |
dc.subject | PREHISTORIC | en_US |
dc.title | การศึกษารูปแบบเครื่องมือหินขัดยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่พบในบริเวณลำห้วยกระเสียว อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี | en_US |
dc.title.alternative | MORPHOLOGICAL STUDY OF PREHISTORIC POLISHED STONE TOOL FOUND IN THE AREA OF KRASAEW GULLY, DAN CHANG DISTRICT, SUPHAN BURI PROVINCE | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Archaeology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
54102202 ศุภภัสสร หิรัญเตียรณกุล.pdf | 54102202 ; สาขาวิชาโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ -- ศุภภัสสร หิรัญเตียรณกุล | 8.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.