Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/680
Title: | โครงการร้านค้ารูปแบบใหม่ ต้นแบบอัตลักษณ์สินค้าพื้นเมือง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
Other Titles: | A PROTOTYPE SHOP MUSEUM OF LOCAL PRODUCT IDENTITY STORE IN AMPHOE HAT YAI; SONGKHLA PROVINCE, THAILAND |
Authors: | สุวรรณพฤกษ์, นัทชา Suwannapruk, Natcha |
Keywords: | สินค้าพื้นเมือง อัตลักษณ์ Shop Museum LOCAL PRODUCT IDENTITY |
Issue Date: | 4-Aug-2559 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยศิลปากร |
Abstract: | ในปัจจุบันจังหวัดสงขลายังคงเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยว และเมืองเศรษฐกิจหลักแห่ง ภาคใต้ ซึ่งมีความสำคัญในการเชื่อมต่อระหว่างการคมนาคมขนส่ง ทำหน้าที่เสมือนประตูเชื่อม ระหว่างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมีรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่แตกต่างกันออกไปตาม เอกลักษณ์วัฒนธรรม และเศรษฐกิจจึงเหมาะที่จะพัฒนาธุรกิจพร้อมกับส่งเสริมการค้าขายของคนใน ชุมชน ให้เกิดความน่าสนใจ และแปลกใหม่มากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ดังนั้นการพัฒนาชุมชนเพื่อรับรองการเปลี่ยนแปลงจึงมีความจำเป็น ในการศึกษาครั้งนี้ต้องการทำการศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อนำมาซึ่งการ ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ และต่อยอดเพื่อพัฒนาเป็นงานออกแบบเชิงลึกโดยคำนึงถึง บริบททั้งหมดที่จะนำมาใช้ในร้าน และนำมาต่อยอดในการออกแบบพื้นที่ภายในของร้านให้สอดคล้อง กับพื้นที่ใช้สอย ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานและพื้นที่เพื่อนำมาซึ่งความแปลกใหม่ให้แก่ร้านอีกด้วย การศึกษาได้พบว่าสงขลามีประสิทธิภาพในการเป็นสถานที่ตั้งของโครงการ เพื่อนำมาซึ่งการ พัฒนาต่อยอดสินค้าให้มีความโดดเด่น และเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าในอนาคตเนื่องจากสงขลาเป็นจังหวัด ที่เข้าถึงง่ายจากประเทศต่าง ๆ จากข้อมูลของสถิตินักท่องเที่ยวของสงขลา และข้อมูลท่องเที่ยวต่าง ๆ โครงการการออกแบบร้านค้าชุมชน เพื่อเป็นต้นแบบให้กับการใช้งานในรูปแบบใหม่ โดยการ ต่อยอดพัฒนาเป็นงานออกแบบเชิงลึก ในการออกแบบตกแต่งภายในของร้านค้าต้นแบบที่คำนึงถึง อัตลักษณ์ดังเดิมและบริบทของท้องถิ่นให้สอดคล้องกับพื้นที่ใช้สอยการออกแบบที่นำเสนอเป็น รูปแบบตามแนวคิดร้านพิพิธภัณฑ์ (Shop Museum) ซึ่งเป็นการออกแบบร้านค้าที่มีขนาดหรือ รูปแบบการใช้งานที่แตกต่างกันมารวบรวมในการออกแบบตกแต่งภายใน โดยเน้นเรื่องการได้ใช้สัมผัส ทั้ง 5 ของมนุษย์กับการทำงานร่วมกันของพื้นที่และลูกค้า เพื่อทำให้ลูกค้าเข้าถึงตัวสินค้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพในหลายรูปแบบ Researches and historical evidences had shown that Songkhla had been one of the main trading and transportation hub of Thailand’s Southern Peninsula dating back to several centuries ago. Moreover, with its geographical advantages, it is still acting as one of the largest economic hub in the Southern area. Being packed with a strong historical background, cultural diversity, and geographical advantages, Songkhla has the potential to reanimate itself to its previous glory by stirring up existing business development and communal activities. This project aims to study about all the aspect of Songkhla, to be able to improve and develop the products and its identity. Using the marketing theory and the design theory to form a change in local branding product and promoting local identity. Presenting the stories of Songkhla and develop it into the space design. Therefore this project of the Shop Museum is designed to promote local products, adding valued in terms of design and appearance. Providing customers with background stories and distinct identity for both the products and stores. Conveying a design approach to create a Product and Identity Development Center operating as a “Shop Museum”. A shop which acts as a showcase, a learning center, an exhibition center, and a communal space. A Shop Museum doesn’t only served as a store but also an education center; introducing the local products to the tourists while giving advices to the locals. Introducing the new development of design using the five experiences for user creating a new learning and shopping space. |
Description: | 57156350 ; สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ -- นัทชา สุวรรณพฤกษ์ |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/680 |
Appears in Collections: | Decorative Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57156350 นางสาวนัทชา สุวรรณพฤกษ์.pdf | 11.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.