Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/980
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิตตเดชาธร, ทิพย์รัตน์-
dc.contributor.authorJittadechatorn, Thipparat-
dc.date.accessioned2017-08-31T04:38:25Z-
dc.date.available2017-08-31T04:38:25Z-
dc.date.issued2560-04-11-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/980-
dc.description57252309 ; สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- ทิพย์รัตน์ จิตตเดชาธรen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนวัด พระปฐมเจดีย์ (มหินทรศึกษาคาร) และ 2) ความต้องการของครูต่อการบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ (มหินทรศึกษาคาร) ประชากรคือผู้บริหารและครูในโรงเรียนวัดพระ ปฐมเจดีย์ (มหินทรศึกษาคาร) จำนวน 94 คน เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ (มหินทรศึกษาคาร) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ (มหินทรศึกษาคาร) โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากได้แก่ แบบประนีประนอม แบบเอาชนะ แบบผสมผสาน และแบบยอมตาม อยู่ในระดับปานกลางคือ แบบหลีกเลี่ยง 2. ความต้องการของครูต่อการบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ (มหินทรศึกษาคาร) พบว่า แบบการบริหารความขัดแย้งที่ครูต้องการมากที่สุดคือ แบบผสมผสาน The purposes of this research were to determine; 1) the conflict management in Watprapathomchedi (Mahintarasueksakan) School, and 2) the teacher’s need for conflict management in Watprapathomchedi (Mahintarasueksakan) School. The population were 94 administrators and teachers in Watprapathomchedi (Mahintarasueksakan) School. The research instrument was a questionnaire based on conflict management in Watprapathomchedi (Mahintarasueksakan) School. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, arithmetic mean, and standard deviation. The findings revealed as the follows: 1. The conflict management in Watprapathomchedi (Mahintarasueksakan) School as a whole was rated at a high level. When considered in each aspect, the four types of conflict management were rated at a high level; compromising, dominating, integrating, and oblinging. For the type of avoiding was rated at a moderate level. 2. The teacher’s need for conflict management in Watprapathomchedi (Mahintarasueksakan) School was the integrating type.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectการบริหารความขัดแย้งen_US
dc.subjectCONFLICT MANAGEMENTen_US
dc.titleการบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ (มหินทรศึกษาคาร)en_US
dc.title.alternativeCONFLICT MANAGEMENT IN WATPRAPATHOMCHEDI (MAHINTARASUEKSAKAN) SCHOOLen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57252309 ทิพย์รัตน์ จิตตเดชาธร.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.