Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1148
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSamat KAEWSINGHAen
dc.contributorสมัตถ์ แก้วสิงห์th
dc.contributor.advisorAchirat Chaiyapotpaniten
dc.contributor.advisorอชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิชth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Archaeologyen
dc.date.accessioned2018-09-06T08:14:22Z-
dc.date.available2018-09-06T08:14:22Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1148-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to study the concept and design of the murals at Wat Baan Rai, Nakhon Ratchasima sciences. The research will be conducted through the artist is 6 persons. Netikorn Chinyo, Prasert Puthsorn, Jintana Piamsiri, Aniruth Kongthavorn, Paramut Luengon and Sampan Sararak. Can be summarized as foolows : The result showed that the painting is still a concept painting Buddhist Jataka and visual storytelling tradition Painting Thailand. The picture is an allegory of 537 shows a scene only key. Related articles Buddha image and write a narrative of the events staged several consecutive. Combined with the idea of the artist expressed by different individuals. In particular, the technique used to create a contemporary style as well. It still looks the picture and the details within Thailand tradition mixed together. said that the combination of both traditional and contemporary Thailand. Such characteristics make the image look harmonious unity. And focus on the aesthetics of the visual style of each artist is. Highlights and is the main idea of this painting. The concept of offering a wide range of painting style. Allowing viewers to watch the painting style that was to sense the beauty of their own. He was interested in the content of the story. There is a principle in and return to study or practice the principles it any further. Although only one principle above is sufficient.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาแนวความคิดและการออกแบบจิตรกรรมฝาผนังที่วิหารเทพวิทยาคม วัดบ้านไร่ จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งผู้วิจัยศึกษาผ่านศิลปิน 6 ท่าน คือ อาจารย์เนติกร ชินโย นายประเสริฐ พุทธสอน อาจารย์จินตนา เปี่ยมศิริ อาจารย์อนิรุทธ์ คงถาวร อาจารย์ปรมัตถ์ เหลืองอ่อนและนายสัมพันธ์ สารารักษ์ สามารถสรุปได้ดังนี้ ผลการศึกษาพบว่าภาพจิตรกรรมยังคงมีแนวความคิดการเขียนภาพพุทธประวัติและชาดกเชิงเล่าเรื่องแบบจิตรกรรมไทยประเพณี กล่าวคือ ภาพชาดก 537 ชาติจะแสดงภาพฉากที่สำคัญเท่านั้น ภาพทศชาติชาดกและพุทธประวัติจะเขียนเป็นภาพเล่าเรื่องแสดงเหตุการณ์หลายฉากต่อเนื่องกันไป ผสมผสานกับแนวความคิดของศิลปินที่แสดงออกมาแตกต่างกันตามปัจเจกบุคคล โดยเฉพาะในด้านเทคนิคที่ใช้ในการสร้างสรรค์เป็นรูปแบบร่วมสมัยเหมือนกัน แต่ยังคงมีลักษณะองค์ประกอบและรายละเอียดภายในภาพแบบไทยประเพณีผสมอยู่ร่วมกัน กล่าวได้ว่าการผสมผสานกันทั้งแบบไทยประเพณีกับแบบร่วมสมัย ลักษณะดังกล่าวทำให้ภาพทั้งหมดดูเป็นเอกภาพกลมกลืนกัน และมุ่งเน้นถึงสุนทรียภาพในทางทัศนศิลป์รูปแบบต่างๆของศิลปินแต่ละคนเป็นหลัก ถือเป็นจุดเด่นและแนวความคิดหลักของจิตรกรรมแห่งนี้ แนวความคิดของการนำเสนอภาพจิตรกรรมที่มีความหลากหลายทางรูปแบบ ทำให้ผู้ชมสามารถเลือกชมจิตรกรรมในรูปแบบที่ถูกกับจริตทางความงามของตนเอง จนเกิดความสนใจในเนื้อหาของเรื่องนั้นๆ ที่มีหลักธรรมต่างๆอยู่ และกลับไปศึกษาค้นคว้าหรือปฏิบัติตนตามหลักธรรมนั้นๆต่อไป แม้เพียงหลักธรรมข้อหนึ่งข้อใดก็เพียงพอth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectจิตรกรรมฝาผนังth
dc.subjectวิหารเทพวิทยาคมth
dc.subjectวัดบ้านไร่th
dc.subjectนครราชสีมาth
dc.subjectMURALSen
dc.subjectTHEPWITTAYAKHOM VIHARAen
dc.subjectWAT BAAN RAIen
dc.subjectNAKORN RATCHASIMAen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleConcept and Design of Murals in Thep Wittayakhom Vihara, Wat Baan Rai, Nakhon Ratchasimaen
dc.titleแนวความคิดและการออกแบบจิตรกรรมฝาผนังที่วิหารเทพวิทยาคม วัดบ้านไร่ จังหวัดนครราชสีมาth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56107316.pdf12.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.