Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1203
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNetaya BOON-ONen
dc.contributorเนตญา บุญอ่อนth
dc.contributor.advisorBAYAN IMSAMRANen
dc.contributor.advisorบาหยัน อิ่มสำราญth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Artsen
dc.date.accessioned2018-10-31T02:26:45Z-
dc.date.available2018-10-31T02:26:45Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1203-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionอักษรศาสตรมหาบัณฑิต (อ.ม.)th
dc.description.abstractThis research paper aims to study compound nouns in Lao language. Data are collected from Lao compound nouns in 10 Laotian short stories and novels awarded S.E.A. Write Award. The objectives are 1) to categorize word class of Lao compound nouns by the approach proposed by Panthumetha, 2) to investigate meanings of Lao compound nouns within literary context, and 3) to analyze Laotian society and culture through Lao compound nouns. The results show that Lao compound nouns may be divided into 5 categories: human-being, human-being vs. human being, entity, human-being vs. entity, and time. Most meanings of compound nouns match well with their literary context. Compound nouns may reflect Laotian society in terms of ethnic diversity, agricultural orientation, and domestic conflict. Compound nouns also reflect Laotian culture in certain ways: beliefs in Buddhism, ghost, and holy spirits; peaceful lifestyle such as cuisine, housing, and clothes. In addition, Laotian people admire the spirit of revolution , especially women who attended people’s movement. Laotian people also highly respect doctors, teachers, community leaders, and coup the leaders of people’s movement.  en
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มุ่งศึกษาคำนามประสมภาษาลาวในวรรณกรรมเรื่องสั้นและ นวนิยายลาวที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์) จำนวนทั้งสิ้น  10  เรื่อง  โดยมีวัตถุประสงค์ของการศึกษาดังนี้ ประการแรก เพื่อจำแนกคำนามประสมภาษาลาวเป็นหมวดคำชนิดต่าง ๆ โดยประยุกต์หลักการของนววรรณ  พันธุเมธา จากหนังสือคลังคำ มาใช้ ประการที่สอง เพื่อตรวจสอบความหมายของคำนามประสมภาษาลาวโดยใช้บริบทวรรณกรรมเป็นแนวทางในการทำความเข้าใจ และประการที่สามเพื่อศึกษาสภาพสังคมและวัฒนธรรมลาวผ่านคำนามประสมภาษาลาว ผลการศึกษาสรุปได้ว่า คำนามประสมภาษาลาวในวรรณกรรมเรื่องสั้นและนวนิยายลาวที่ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์) จำแนกได้ 5 หมวดหมู่ ได้แก่ หมวดมนุษย์ หมวดมนุษย์กับมนุษย์ หมวดสรรพสิ่ง หมวดมนุษย์กับสรรพสิ่ง และหมวดเวลา โดยมีความหมายที่สอดคล้องกับบริบทการใช้ตามที่ปรากฏในตัวบทวรรณกรรม อีกทั้งคำนามประสมดังกล่าวยังสามารถสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมลาว กล่าวคือ ในด้านสังคม พบว่าสังคมลาวเป็นสังคมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์  เป็นสังคมเกษตรกรรม และเป็นสังคมที่มีความขัดแย้ง  ในด้านวัฒนธรรม พบว่าเป็นสังคมที่มีความเชื่อที่หลากหลาย ทั้งความเชื่อเรื่องพุทธ ผี และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คนลาวมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ทั้งการกิน  การปลูกสร้างที่อยู่อาศัย และการแต่งกาย รวมทั้งพบว่าคนลาวมีค่านิยมยกย่องผู้ที่มีจิตใจปฏิวัติ โดยเฉพาะสตรีที่เข้าร่วมขบวนการปฏิวัติ และให้ความสำคัญกับอาชีพแพทย์ ข้าราชการครู ผู้นำชุมชนและผู้นำกองกำลังปฏิวัติ    th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectคำนามประสม/ภาษาลาว/สังคมลาว/วัฒนธรรมลาวth
dc.subjectCOMPOUND NOUN / LAO LANGUAGE / LAOTIAN SOCIETY / LAOTIAN CULTUREen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleCOMPOUND NOUNS IN LAOS LANGUAGEen
dc.title คำนามประสมภาษาลาวth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56208303.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.