Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorDamrongsak RINCHUMPHUen
dc.contributorดำรงศักดิ์ รินชุมภูth
dc.contributor.advisorRUJIROTE ANAMBUTRen
dc.contributor.advisorรุจิโรจน์ อนามบุตรth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:27:13Z-
dc.date.available2018-12-14T02:27:13Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1326-
dc.descriptionMaster of Landscape Architecture (M.L.A.)en
dc.descriptionภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.สถ.ม.)th
dc.description.abstractNowadays, the dramatically of urban land and real estate developments affect to the reduction of natural porosity surfaces, then increasing frequency and destructive urban flooding or stormwater runoff problems. Consequently, the Bangkok Comprehensive Plan 2013 (2556 B.E.) has mandated to promote the landscape designs to increase rain garden towards effectively reduce the stormwater runoff (or increase the water infiltration), which will earn the floor area ratio bonus for the achieved developments. However, the appropriated method for stormwater runoff on rain garden area assessment has been deficient. Meanwhile, the preliminary studies found that the Curve Number (CN) method is applicable to use as the efficiently method for assessing stormwater runoff capacity on rain garden area. Thus, this research processes the experimental in the application of CN method by using computer software; named Autodesk Infraworks 360 with Green Stromwater Infrastructure (GSI) plug-in on several designs of rain garden area, then generated the relationship between stromwater volume and those designs pattern. The final result presents as a design guideline for using in rain garden design in urban area for supporting the practices of landscape architects.en
dc.description.abstractการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์บทที่เพิ่มมากขึ้นในพื้นที่ชุมชนเมืองปัจจุบัน ทำให้พื้นผิวพรุนน้ำตามธรรมชาติลดลงส่งผลต่อการเกิดปัญหาน้ำท่วมขังหรือน้ำไหลนองในพื้นที่เขตเมืองเกิดขึ้นบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น จึงเป็นที่มาของการมีข้อบังคับในผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ที่ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมให้มีประสิทธิภาพในการรับน้ำฝนได้มากขึ้น โดยรูปแบบของสวนซับน้ำฝนเป็นรูปแบบที่เหมาะสมในการนำมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพในการลดการไหลนอง (หรือเพิ่มการซึมได้ของน้ำ)ของพื้นที่ โดยโครงการจะได้รับสิทธิ์ในการเพิ่มพื้นที่อาคารต่อพื้นที่ดินตามปริมาณการลดการไหลนองในโครงการ แต่การประเมินปริมาณน้ำไหลนองบนพื้นที่สวนซับน้ำฝนยังขาดแคลนวิธีการประเมินที่เหมาะสม เบื้องต้นพบว่าการประมาณการน้ำไหลนองด้วยค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ระหว่างน้ำฝนสะสมกับปริมาณน้ำหลากตามผิวดินสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการการประเมินปริมาณน้ำไหลนองบนพื้นที่สวนซับน้ำฝนได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยในครั้งนี้จึงดำเนินการทดลองในการประยุกต์ใช้แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ในการทดลองการหาค่าปริมาตรของน้ำฝนที่ซึมได้ กับความสัมพันธ์ต่อรูปแบบของการออกแบบพื้นที่สวนรับน้ำฝน และนำเสนอเป็นคู่มือสำหรับในการนำไปใช้ในงานภูมิสถาปัตยกรรม อีกทั้งยังทดลองใช้กับโครงการที่เกิดขึ้นจริงเพื่อยืนยันความสอดคล้องกับการนำไปใช้งานจริง ซึ่งผลที่ได้รับสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการออกแบบพื้นที่สวนรับน้ำฝนในเขตเมืองสำหรับภูมิสถาปนิกได้ต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการซึมได้ของน้ำฝนth
dc.subjectการคำนวณค่าth
dc.subjectสวนซับน้ำฝนth
dc.subjectการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารต่อพื้นที่ดินth
dc.subjectสัมประสิทธิ์การไหลนองth
dc.subjectSTORMWATER INFILTRATIONen
dc.subjectDETERMINATIONen
dc.subjectRAIN GARDENen
dc.subjectFAR BONUSen
dc.subjectCURVE NUMBER (CN)en
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.titleThe Determination of Stormwater Infiltration in a Rain Garden for Landscape Architectureen
dc.titleการคำนวณค่าการซึมได้ของน้ำฝนในพื้นที่สวนซับน้ำฝนสำหรับงานภูมิสถาปัตยกรรมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58060201.pdf5.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.