Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1385
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuphattra KIATBUMRUNGen
dc.contributorสุพัตรา เกียรติบำรุงth
dc.contributor.advisorsamrerng onsampanten
dc.contributor.advisorสำเริง อ่อนสัมพันธุ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:38:56Z-
dc.date.available2018-12-14T02:38:56Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1385-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to find 1) the emotional intelligence of school administrator under Prachuapkhirikhan  Primary Educational Service Area Office I, 2) the internal supervision  of school administrator under Prachuapkhirikhan primary educational service area office I, 3) the relationship between the emotional intelligence of school administrator  under Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area Office I and internal supervision  of school administrator support. The sample for this study were 85 schools under under Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area Office I. The respondent  were school administrators, the heads of academic affair department, and teachers totally 255. The research instrument was a questionnaire regarding emotional intelligence of school administrator based on Dubrin and the internal supervision of school administrator based on Glickman. The statistical treatments were frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product – moment correlation coefficient. The finding revealed as follows : 1. The emotional intelligence of school administrator under Prachuapkhirikhan primary educational service area office I was at a high level in overall and individual aspect, ranking from the highest to the lowest : social-awareness, self-awareness, self-management, and relationship-management. 2. The internal supervision of school administrator under Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area Office I was at a high level in overall and individual aspect, ranking from the highest to the lowest : professional development, group development,direct to assistance, curriculum development, and action research. 3. The relationship between the emotional intelligence of school administrator and the internal supervision under Prachuapkhirikhan Primary Educational Service Area office I was found at .01 level of statistical  significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประสงค์ทราบ 1)ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1   2)การนิเทศภายในสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1  3) ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารกับการนิเทศภายในสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 กลุ่มตัวอย่างเป็น สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1  จำนวน   85  แห่ง  ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย  ผู้บริหาร 1 คน  หัวหน้าฝ่ายวิชาการ 1 คนและครูผู้สอน 1 คน  รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 255 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามแนวคิดของ ดูบริน (Dubrin) และแบบสอบถามเกี่ยวกับการนิเทศภายในสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1  ตามแนวคิดของ   กลิคแมน (Glickman)   สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่  ร้อยละ  ค่ามัชฌิมเลขคณิต   ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก  โดยเรียงลำดับดังนี้  ด้านการรับรู้ทางสังคม  ด้านการรับรู้ตนเอง  การจัดการตนเอง และด้านการจัดการความสัมพันธ์ 2. การนิเทศภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากเรียงลำดับดังนี้  ด้านการพัฒนาวิชาชีพ  ด้านการพัฒนากลุ่ม   ด้านการให้ความช่วยเหลือครูโดยตรง  ด้านการพัฒนาหลักสูตร และด้านการวิจัยเชิงปฏิบัติการ  3. ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารกับการนิเทศภายในสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์, การนิเทศภายในth
dc.subjectEMOTIONAL INTELLIGENCE/ INTERNAL SUPERVISIONen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE EMOTIONAL INTELLIGENCE OF SCHOOL ADMINSTRATOR  AND THE INTERNAL SUPERVISION UNDER PRACHUAP KHIRIKHAN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE  AREA OFFICE I.en
dc.titleความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารกับการนิเทศภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56252347.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.