Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKampanart CHANTIMAen
dc.contributorกัมปนาท จันธิมาth
dc.contributor.advisorJean-david Stephane Cailloueten
dc.contributor.advisorJean-David Stephane Caillouetth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Musicen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:45:54Z-
dc.date.available2018-12-14T02:45:54Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1597-
dc.descriptionMaster of Music (M.Mus)en
dc.descriptionดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research explores the process of transformation of light through 3 types of lenses: 1) Convex Lens; 2) Concave Lens; 3) Prism. The phenomenon explored are: light type, light direction, intensity, wavelength and focal point. The research focuses on the application of those physical phenomenon to the world of sound through the development of sonic gestures, textures, timbres and articulations. The music ensemble performing the musical outcome of this research includes 9 instruments: 1 solo Bb clarinet, 2 flutes, 2 Bb clarinets, 2 bass Bb clarinets, 1 Eb alto saxophone and 1 Bb tenor saxophone. Additionally, live electronics and prerecorded electronically processed sources are used to extend the sound world beyond the acoustic paradigm. A visual element in the form of live projections is also incorporated within the work to further expose the parallels between sound and light. Experiments with the relative positioning of musicians and audience members also enable the creation of audible gestures simulating the movements and shapes of light refraction. The music composition entitled ‘Refract’ as a result of the research aims at presenting this audio-visual research through a set of musical studies culminating in the piece. The piece explores the phenomenon of light traveling through 3 lenses and is appropriately divided into 3 movements: a) Convex Lens b) Concave Lens c) Prism.en
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้เป็นการสำรวจกระบวนการหักเหของแสง (Refraction of Light) ผ่านเลนส์ทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ 1) เลนส์นูน (Convex Lens) 2) เลนส์เว้า (Concave Lens) และ 3) ปริซึม (Prism) โดยมีการสำรวจปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น ชนิดของแสง ทิศทางของแสง ความเข้มของแสง ความยาวของคลื่นและจุดรวมแสงเป็นต้น งานวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้นการประยุกต์ปรากฏการณ์ทางกายภาพของแสงไปสู่มุมมองแห่งเสียงผ่านการพัฒนาด้านทิศทางของเสียง (Gesture) รูปแบบพื้นผิว (Texture) สีสันของเสียงเครื่องดนตรี (Timbre) และลักษณะของเสียง (Articulations) วงดนตรีที่ใช้บรรเลงผลลัพธ์ด้านเสียงของงานวิจัยประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีทั้งหมด 9 ชิ้น ได้แก่ แนวเดี่ยวคลาริเนต ฟลูต 2 เครื่อง Bb คลาริเน็ต 2 เครื่อง Bb เบสคลาริเนต 2 เครื่อง, Eb อัล-โตแซกโซโฟน และ Bb เทเนอร์แซกโซโฟน นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ที่ใช้ประกอบการแสดงสดและการประมวลผลของเสียงที่ผ่านการบันทึกไว้ล่วงหน้าเพื่อขยายโลกแห่งเสียงที่เหนือกว่ากระบวนทัศน์ด้านอะคูสติก (Acoustic Paradigm) องค์ประกอบของภาพที่ใช้ในการแสดงเผยให้เห็นลักษณะคู่ขนานระหว่างเสียงและแสง การทดลองการกำหนดตำแหน่งระหว่างนักดนตรีและผู้ชมเป็นการจำลองการเคลื่อนไหว ทิศทางและรูปร่างของการหักเหแสงด้วยการเคลื่อนไหวของเสียง ผลงานการประพันธ์เพลงซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนองานวิจัยด้านโสตทัศน์ในชื่อ “หักเห” บทเพลงนำเสนอการสำรวจปรากฏการณ์การเดินทางของแสงผ่านเลนส์ทั้ง 3 เลนส์ และนำไปสู่บทประพันธ์ทั้ง 3 ท่อน ได้แก่ 1) Convex 2) Concave 3) Prismth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการประพันธ์เพลงth
dc.subjectแสงth
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงของแสงth
dc.subjectเลนส์th
dc.subjectCOMPOSITIONen
dc.subjectLIGHTen
dc.subjectTRANSFORMATION OF LIGHTen
dc.subjectLENSen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleREFRACT FOR SOLO CLARINET, WOODWIND OCTET, ELECTRONICS, AND VISUALS.en
dc.titleบทประพันธ์เพลง หักเห สำหรับเดี่ยวคลาริเน็ต เครื่องลมไม้ 8 ชิ้น อิเล็คทรอนิกส์และภาพเคลื่อนไหวth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57701308.pdf15.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.