Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1718
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Phatnaree AROONSIT | en |
dc.contributor | พัฒน์นรี อรุณสิทธิ์ | th |
dc.contributor.advisor | Apinpus Chitrakorn | en |
dc.contributor.advisor | อภินภัศ จิตรกร | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts and Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2018-12-14T03:00:21Z | - |
dc.date.available | 2018-12-14T03:00:21Z | - |
dc.date.issued | 17/8/2018 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1718 | - |
dc.description | Master of Fine Arts (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aims to: 1) Develop the art learning management using multisensory approach concept with creative based learning to promote art creation in grade 5 students. 2) Compare the learning achievement of students taking visual arts course both before and after taking visual arts course. 3) Study the creative art of the learners who took the course and 4) Study the satisfaction of learners toward the course. The sample group comprises 47 elementary students of Pratomsuksa 5/8 in Joseph Upatham school, Nakhon Pathom province. The research instruments were 1) Lesson plan for multisensory approach concept with creative Based learning art lesson. 2) Visual art learning achievement test. 3) Creative art assesment form and 4) Rating-scales for learners satisfaction. The Data analysis uses mean , Percentage, standard deviation (S.D.), Index of Item – Objective Congruence (IOC) and t – test dependent. The results of research were as follows 1) Art learning management using multisensory approach concept with creative based learning to promote art creation in grade 5 student has quality, the Index of Item – Objective Congruence (IOC) is value of 0.67 -1.00 2) The achievement in learning Visual Arts of the students was significantly higher after the lesson at the statistical level of .05 3) The creative art of the learners was on a good level and 4) Satisfaction of the learners was on a very good level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมผลงานศิลปะเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 2) ศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาทัศนศิลป์ของผู้เรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ 3) ศึกษาผลงานศิลปะเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียน ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/8 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ จังหวัดนครปฐม จำนวน 47 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมผลงานศิลปะเชิงสร้างสรรค์ 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาทัศนศิลป์ 3) แบบประเมินผลงานศิลปะเชิงสร้างสรรค์ และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ค่าสถิติ t - test แบบ Dependent Samples ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมผลงานศิลปะเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีคุณภาพ ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67 -1.00 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาทัศนศิลป์ของผู้เรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3) ผลงานศิลปะเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียน ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ อยู่ในระดับดี และ 4) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ อยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | แนวคิดพหุสัมผัส | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ | th |
dc.subject | ผลงานศิลปะเชิงสร้างสรรค์ | th |
dc.subject | Multisensory | en |
dc.subject | Creative Based Learning | en |
dc.subject | Art Creation | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Art Learning Management Using Multisensory Approach Concept with Creative Based Learning to Promote Art Creation in Grade 5 Student | en |
dc.title | การจัดการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดพหุสัมผัสร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมผลงานศิลปะเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts and Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58901320.pdf | 7.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.