Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2292
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChonticha ROMPHOREEen
dc.contributorชลธิชา ร่มโพธิ์รีth
dc.contributor.advisorVorarkarn Suksoodkeayen
dc.contributor.advisorวรกาญจน์ สุขสดเขียวth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:21:11Z-
dc.date.available2019-08-08T06:21:11Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2292-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to know 1) the strategic management  of administrators under the Secondary Educational Service Area Office 9 2) the school environment of the schools under the Secondary Educational Service Area Office 9 and 3) the relationship between strategic management and school environment of under the Secondary Educational Service Area Office 9. The sample consisted of 56 schools under the Secondary Educational Service Area Office 9. The respondents in each school were administrators and teachers totally 112 people. The instrument was a questionnaire about the strategic management on Certo and Peter’s concept and school environment on Astin’s concept. The statistical used to analyze the data were frequency (f), percentage (%), arithmetic mean (), standard deviation (SD) and Pearson’s product moment correlation coefficient. The findings of this research were as follows: 1. The strategic management of administrators under the Secondary Educational Service Area Office 9, as a whole and as individual, were at high level. 2. The school environment of under the Secondary Educational Service Area Office 9, as a whole and as individual, were at high level.  3. There was significantly between the strategic management and school environment of school under the Secondary Educational Service Area Office 9 at .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 2) การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารเชิงกลยุทธ์กับการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จำนวน 56  โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 2 คน ประกอบด้วยผู้บริหาร จำนวน 1 คน และครู จำนวน 1 คน รวมผู้ให้ข้อมูล 112 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ตามแนวคิดของเซอร์โตและปีเตอร์ และการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนตามแนวคิดของแอสติน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9  โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. การบริหารเชิงกลยุทธ์กับการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการบริหารเชิงกลยุทธ์/การจัดสภาพแวดล้อมth
dc.subjectSTRATEGIC MANAGEMENT / SCHOOL ENVIRONMENTen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE STRATEGIC MANAGEMENT AND SCHOOL ENVIRONMENTUNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 9en
dc.titleการบริหารเชิงกลยุทธ์กับการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58252207.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.