Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2511
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Prinya MRUKSIRISUK | en |
dc.contributor | ปริญญา มรรคสิริสุข | th |
dc.contributor.advisor | VIRA INPUNTUNG | en |
dc.contributor.advisor | วีระ อินพันทัง | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Architecture | en |
dc.date.accessioned | 2020-08-04T03:38:38Z | - |
dc.date.available | 2020-08-04T03:38:38Z | - |
dc.date.issued | 10/7/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2511 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | This research aims to expose the relationship of local environment, lifestyle, and architecture in the brackish water area of Khao Yisan village, Yisan subdistrict, Amphawa district, Samut Songkhram province. The mangrove charcoal activity, the major livelihood of this community, was studied in this research via fieldwork study comprising environment exploration, interview, ways of living observation, and architectural measurement, then analyzing and synthesizing the relationship of environment, human, and architecture. Khao Yisan mangrove charcoal village was found to have a 3-dimensional close relationship of environment, human, and architecture as follows: place relationship, quantity relationship, and social relationship. Settlement on the specific area of brackish water, canal, sludge, and mangrove dominantly and clearly affects lifestyle and architecture by changing them from time to time. A clear conclusion was found that human or a creator always employed processes of modifying architecture or alias trail and error to suit the changing environment. This adaptation which helps balance the relationship of human, environment, and architecture, gives an identity characteristic of Khao Yisan. The earlier mentioned accords cultural ecology approach especially architecture so called “architectural ecology”. The architectural ecology approach can be used for understanding relationship of environment, human, and architecture, and defines the relationship of all aspects forming architecture in any area. This approach-an optional approach- furthermore expands the knowledge in vernacular architecture approach. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมของถิ่นฐาน วิถีชีวิตผู้คน และสถาปัตยกรรม โดยมีบ้านเขายี่สาร ตำบลยี่สาร อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามอันเป็นถิ่นฐานย่านน้ำกร่อยเป็นพื้นที่ศึกษา การศึกษาผ่านการทำถ่านไม้โกงกาง ซึ่งเป็นอาชีพหลักอาชีพหนึ่งของชุมชน ด้วยวิธีการวิจัยภาคสนาม ประกอบด้วย การสำรวจสภาพแวดล้อม การสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์วิถีชีวิตผู้คนรวมถึงการสำรวจรังวัดสถาปัตยกรรมแล้ววิเคราะห์ และสังเคราะห์ความสัมพันธ์ซึ่งกันระหว่างสภาพแวดล้อม คน และสถาปัตยกรรม ผลการวิจัยค้นพบว่า การทำถ่านไม้โกงกางชุมชนบ้านเขายี่สารพบความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม คน และสถาปัตยกรรม โดยสามารถแจกแจงความสัมพันธ์ที่พบได้ 3 มิติ คือ ความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ ความสัมพันธ์เชิงปริมาณ และความสัมพันธ์เชิงสังคม ผลการศึกษาตอกย้ำความสัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างสภาพแวดล้อม คน และสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตั้งถิ่นฐานบริเวณพื้นที่ที่มีลักษณะเฉพาะ คือ น้ำกร่อย คูคลอง ดินเลนและป่าโกงกางส่งอิทธิพลต่อวิถีชีวิต และสถาปัตยกรรมอย่างชัดเจน ทั้งสภาพแวดล้อม คน และสถาปัตยกรรม มีการเปลี่ยนแปลงไปโดยลำดับ พบข้อสรุปชัดเจนว่า คนซึ่งเป็นผู้สร้าง มีกระบวนการดัดแปลงสถาปัตยกรรมอยู่เนืองๆ หรืออีกนัยหนึ่งคือ การลองผิด ลองถูก เพื่อให้เหมาะสมกับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นการปรับเพื่อคงความสัมพันธ์ระหว่างคน สภาพแวดล้อม สถาปัตยกรรมได้ในสภาวะสมดุล ก่อเกิดเป็นลักษณะเฉพาะของบ้านเขายี่สาร สอดคล้องกับแนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม เพื่อชี้ชัดเจาะจงลงไปว่าวัฒนธรรมในที่นี้หมายถึงสถาปัตยกรรม จึงเรียกความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม คน สถาปัตยกรรม จากผลการวิจัยนี้ว่า “นิเวศวิทยาสถาปัตยกรรม” กรอบแนวความคิดนิเวศวิทยาสถาปัตยกรรมสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการศึกษาทำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม คน และสถาปัตยกรรม เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการก่อรูปของสถาปัตยกรรมในพื้นที่ต่างๆ อันเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ทางด้านสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีกทางเลือกหนึ่ง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | นิเวศวิทยาสถาปัตยกรรม | th |
dc.subject | ARCHITECTURAL ECOLOGY | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | THE ARCHITECTURAL ECOLOGY : CASE STUDY OF BAN KHAO YISAN MANGROVE CHARCOAL PRODUCTION | en |
dc.title | นิเวศวิทยาสถาปัตยกรรม : กรณีการทำถ่านไม้โกงกางบ้านเขายี่สาร | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58057801.pdf | 11.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.