Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhonphrom PUTTANAen
dc.contributorฝนพรม พุทธนาth
dc.contributor.advisorSUWIMON SAPHUKSRIen
dc.contributor.advisorสุวิมล สพฤกษ์ศรีth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:55:56Z-
dc.date.available2020-08-14T02:55:56Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2664-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstract58253401 : Major (CURRICULUM AND SUPERVISION) Keyword : PROBLEM-SOLVING THINKING ABILITY , TAUGHT BY ACTIVE LEARNING APPROACH                 MISS PHONPHROM PUTTANA : THE DEVELOPMENT OF PROBLEM-SOLVING THINKING ABILITY TAUGHT BY ACTIVE LEARNING APPROACH OF PRATHOMSUKSA SIX STUDENTS ADVISER : SUWIMON SAPHUKSRI, Ph.D. The purposes of this research were to 1) to compare the learning achievement of prathomsuksa six students before and after taught by active learning approach. 2) to study problem solving ability of prathomsuksa six students after taught by active learning approach. and 3) to study the opinions of prathomsuksa six students towards taught by active learning approach. The experimental research were implemented. One-Group Pretest-Posttest Designs was implemented by experimenting with prathomsuksa six students at Ban Nai Phon School (Mansuwan Upatham), 40 people from prathomsuksa 6/1 in the 2nd semester of the academic year 2019. The research instruments were 1) lesson plans 2) before and after learning management test 3) assessment test for problem-solving ability development and 5) questionnaire of prathomsuksa 6 students towards taught by active learning approach. The data were analyzed by the percentage (%), mean (), standard deviation (S.D.), t-test dependent and content analysis.             The result of this research showed that: 1) The achievement after taught by active learning approach was found to be higher than the pre-learning achievement. 2) The problem solving ability of prathomsuksa 6 students after taught by active learning approach was at a good level. 3) A study of the opinions of prathomsuksa 6 students towards taught by active learning approach after periodic learning, found that the things that students liked from learning were learning media and management methods. And the things that students disliked from studying were insufficient time for learning management Problems in participating in group activities, using random numbering and some students did not cooperate as they should.en
dc.description.abstract58253401 : หลักสูตรและการนิเทศ แผน ก แบบ ก 2 ระดับปริญญามหาบัณฑิต  คำสำคัญ : ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา, การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning             นางสาวฝนพรม พุทธนา : การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : อาจารย์ ดร. สุวิมล สพฤกษ์ศรี             การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน                  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning 2) เพื่อศึกษาความสามารถ               ในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning และ             3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning หลังการจัดการเรียนรู้ การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยมีแบบแผนการวิจัยขั้นพื้นฐาน (Pre-Experimental Designs) แบบกลุ่มเดียวสอบก่อนและสอบหลัง (One-Group Pretest-Posttest Designs) โดยทดลองกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านนายผล (แม้นสุวรรณอุปถัมภ์) จำนวน 40 คน จากชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย                 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาความสามารถการคิดแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning 3) แบบประเมินความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test แบบ dependent และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา             ผลการวิจัย พบว่า             1) ผลสัมฤทธิ์หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning พบว่า สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ก่อนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning             2) ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning อยู่ในระดับดี             3) การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning หลังการจัดการเรียนรู้เป็นรายคาบ พบว่า สิ่งที่นักเรียนชื่นชอบจากการเรียน ได้แก่ สื่อการเรียนรู้และวิธีการจัดการเรียนรู้ และสิ่งที่นักเรียนไม่ชื่นชอบจากการเรียน ได้แก่ เวลาไม่เพียงพอในการจัดการเรียนรู้ปัญหา               ในการร่วมกิจกรรมกลุ่มที่ใช้วิธีการสุ่มเลขที่และนักเรียนบางคนไม่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเท่าที่ควรth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF PROBLEM-SOLVING THINKING ABILITY TAUGHT BY ACTIVE LEARNING APPROACH OF PRATHOMSUKSA SIX STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Active Learning ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58253401.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.