Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJaruwan WONGKAEWen
dc.contributorจารุวรรณ วงษ์แก้วth
dc.contributor.advisorChanasith Sithsungnoenen
dc.contributor.advisorชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนินth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:04Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:04Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2710-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to: 1) compare students’ English reading comprehension skills before and after using the collaborative strategic reading (CSR) through local information of Kanchanaburi for Prathomsuksa Sixth students 2) study the development of students’abilities in using collaborative strategic reading while studying using the collaborative strategic reading (CSR) through local information of Kanchanaburi for Prathomsuksa Sixth students 3)study group working behaviors of students while studying using the collaborative strategic reading (CSR) through local information of Kanchanaburi for Prathomsuksa Sixth students to improve English reading comprehension skills. The samples were 13 students studied in Prathomsuksa Sixth from Wat Nongmaikan School,Amphur Tamaka Kanchanaburi, in second semester of academic year 2019. Research instruments consisted of 1) lesson plan using the collaborative strategic reading (CSR) through local information of Kanchanaburi 2) reading proficiency test 3) assessment form of ability in using collaborative strategic reading and 4) observation form of group working behaviors. The data were analyzed by the mean,standard deviation and statistical means of t-test. The results were as follows:                                                             1) English reading comprehension skills after using the collaborative strategic reading (CSR) through local information of Kanchanaburi were significantly higher than before the instruction at .05 level.                                                                              2) Students’abilities in using collaborative strategic reading while studying using the collaborative strategic reading (CSR) through local information of Kanchanaburi for Prathomsuksa Sixth students were higher development. 3) Group working behaviors of students while studying using the collaborative strategic reading (CSR) through local information of Kanchanaburi for Prathomsuksa Sixth students were good level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ก่อนและหลังเรียนโดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือผ่านบทอ่านข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  2) เพื่อศึกษาพัฒนาการความสามารถในการใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือของนักเรียน ระหว่างเรียนโดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือผ่านบทอ่านข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  และ 3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียน ระหว่างเรียนโดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือผ่านบทอ่านข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดหนองไม้แก่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 13 คน ใช้เวลา 14 ชั่วโมง แบบแผนการวิจัย One Group Pretest-Posttest Design  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1)แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือผ่านบทอ่านข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี 2) แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  3)แบบประเมินความสามารถในการใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือ  4) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และทดสอบค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือผ่านบทอ่านข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในระหว่างเรียนโดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือผ่านบทอ่านข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี มีพัฒนาการอยู่ในระดับที่สูงขึ้น 3. พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในระหว่างเรียนโดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือผ่านบทอ่านข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี อยู่ในระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ, กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือ, ข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรีth
dc.subjectENGLISH READING COMPREHENSION SKILLS/ COLLABORATIVE STRATEGIC READING (CSR)/ LOCAL INFORMATION OF KANCHANABURIen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF  ENGLISH READING COMPREHENTION SKILLS             BY USING COLLABORATIVE STRATEGIC READING (CSR) THROUGH LOCALINFORMATION OF KANCHANABURI FOR PRATHOMSUKSA SIXTH STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือผ่านบทอ่านข้อมูลท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58263302.pdf6.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.