Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2861
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chawanlak YOOYAM | en |
dc.contributor | ชวัลลักษณ์ อยู่แย้ม | th |
dc.contributor.advisor | Attama Boonpalit | en |
dc.contributor.advisor | อัฏฐมา บุญปาลิต | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Management Sciences | en |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T04:51:42Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T04:51:42Z | - |
dc.date.issued | 10/7/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2861 | - |
dc.description | Master of Business Administration (M.B.A.) | en |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม) | th |
dc.description.abstract | This study aimed to examine the current marketing mix strategies of local textiles in Phetchaburi province. Their marketing problems and obstacles and propose an appropriate marketing mix strategy for local textiles in Phetchaburi province. Main informant of this research are group leader, members and customers of 6 local textile groups in Phetchaburi province and 20 customers. It was found that problems and obstacles in local textile groups in Phetchaburi province included the lack of product development or changes in patterns and style that make the products stand out. All products possessed were originated, therefore, they were not attractive to repeat customers. In addition, local textile groups within Phetchaburi province did not have appropriate distribution channel for their product. Therefore, proactive strategies should be used to penetrate target markets by setting up a shop to be the center of local textile products within Phetchaburi province and creating an online platform with Phetchaburi identity as a distribution channel for textile products. These channel would enable consumers to convenience access to local textile products. This online platform can be create based on the discussion, recommendation from the key informants, especially from the government agencies responsible for community enterprises. Since the government agencies are the center, they should publicize this new platform to gain consumer awareness and accessibility. Phetchaburi local textile groups should categorize products, set prices and implement their new production with outstanding features continuously to facilitate consumers’ order and meet market needs. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดในปัจจุบันของสิ่งทอพื้นเมือง ภายในจังหวัดเพชรบุรี ปัญหาและอุปสรรคการทำการตลาดของสิ่งทอพื้นเมือง และเสนอกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดที่เหมาะสมสำหรับผ้าทอพื้นเมือง ในจังหวัดเพชรบุรี ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ หัวหน้ากลุ่มและสมาชิกกลุ่มสิ่งทอพื้นเมืองต่างๆ ภายในจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 6 กลุ่ม ผู้ที่มาซื้อสินค้าของกลุ่มสิ่งทอพื้นเมืองภายในจังหวัดเพชรบุรี จำนวนรวม 20 คน และกลุ่มสิ่งทอพื้นเมืองที่ประสบความสำเร็จ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มสิ่งทอพื้นเมือง ภายในจังหวัดเพชรบุรี พบว่าปัญหาและอุปสรรคที่พบของกลุ่มสิ่งทอพื้นเมือง ภายในจังหวัดเพชรบุรีคือ ปัญหาของการไม่มีการพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ให้แตกต่างไปจากเดิม ยังคงรูปลักษณ์หรือผลิตภัณฑ์แบบเดิมตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน ทำให้ไม่เกิดความแตกต่างและดึงดูดผู้บริโภคให้กลับมาซื้อซ้ำ ปัญหาถัดมาคือ ปัญหาทางด้านช่องทางการจัดจำหน่าย กลุ่มสิ่งทอพื้นเมือง ภายในจังหวัดเพชรบุรี ประสบปัญหาการไม่มีช่องทางการจัดจำหน่ายที่เหมาะสม ดังนั้นควรที่จะใช้กลยุทธ์เชิงรุกในการเจาะตลาดผู้บริโภค โดยการจัดตั้งร้านค้าที่เป็นศูนย์รวมของสิ่งทอพื้นเมืองภายในจังหวัดเพชรบุรี หรือการสร้าง Platform ที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดเพชรบุรี ทำเป็นช่องทางออนไลน์ที่รวมสินค้าของกลุ่มสิ่งทอพื้นเมืองภายในจังหวัดเพชรบุรีทุกกลุ่ม ทำให้ผู้บริโภคได้เข้าถึงได้ง่ายขึ้น จากการอภิปรายผลได้ให้คำแนะนำหน้าที่ของแต่ละภาคส่วน เพื่อช่วยในการสร้าง Platform ขึ้นมาสำหรับหน่วยงานราชการที่มีส่วนรับผิดชอบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนนั้น มีหน้าที่เข้าช่วยเหลือในด้านการหาผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนา Platform ให้กับกลุ่มสิ่งทอพื้นเมืองจังหวัดเพชรบุรี และเนื่องจากหน่วยงานราชการเป็นศูนย์กลางและสามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารได้ง่าย ดังนั้นหน่วยงานราชการควรประชาสัมพันธ์ถึง Platform ที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้บริโภคเข้าถึง สำหรับกลุ่มผู้ผลิตสิ่งทอพื้นเมือง จังหวัดเพชรบุรี ควรมีหน้าที่ในการจัดหมวดหมู่ผลิตภัณฑ์ ตั้งราคา และดำเนินการผลิตที่ต่อเนื่องเพื่อรองรับการสั่งซื้อของผู้บริโภคได้ รวมถึงการต่อยอดผลิตภัณฑ์โดยการผลิตสินค้ารูปแบบใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด และหาจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ของกลุ่มตนเองอย่างต่อเนื่อง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | สิ่งทอพื้นเมือง | th |
dc.subject | กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาด | th |
dc.subject | กลยุทธ์เชิงรุก | th |
dc.subject | กลยุทธ์เชิงแก้ไข | th |
dc.subject | การตลาดออนไลน์ | th |
dc.subject | Native Textile | en |
dc.subject | Strategies Marketing | en |
dc.subject | Proactive Strategy | en |
dc.subject | Solutions Strategy | en |
dc.subject | Online Marketing | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.title | Developing a Marketing Strategy for Native Textile in Phetchaburi Province | en |
dc.title | การพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดสำหรับสิ่งทอพื้นเมืองจังหวัดเพชรบุรี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Management Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61602304.pdf | 2.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.