Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3144
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Homesawan UMANSAP | en |
dc.contributor | ห่มสวรรค์ อู่ม่านทรัพย์ | th |
dc.contributor.advisor | PREECHA THAOTHONG | en |
dc.contributor.advisor | ปรีชา เถาทอง | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts | en |
dc.date.accessioned | 2021-07-09T09:45:11Z | - |
dc.date.available | 2021-07-09T09:45:11Z | - |
dc.date.issued | 2/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3144 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | The thesis entitled “ 89 Banners for Rama IX ” was aimed to create and inherit the painting works of Phawed cloth which is a northeastern tradition and culture presented on the 89 pieces of cloth, with intended creativity process was to engage the community participation from the beginning until the art works had been completed and can be used in the rituals. Those were offered to 89 temples in the Northeastern part, the number of cloth is as the age of His Majesty King Bhumibol Adulyadej, for the sake of royal charity offering to him and honoring his grace as good exemplar Buddhist in livelihood and extolling the virtues. Moreover, the story of Mahajanaka the fable written by him was included in creation inspiration. As well as to enhance the value of local craftsmanship through contemporary Isan painting, with the way of thinking about the conservation by which art techniques and Silk screen printing were used to produce fabric paintings by local people participation process, while preserving the length of its life. In addition, it is the continuation of Northeastern folk art that connects the spirit of the local people with the religion embedded with spiritual values and Isan people’s way of life, whereas emphasizing on the importance of people's faith in participating in merit festival tradition, with will to nurture religion through creative works. Employing the analysis of the image structures of the ancient Phawed clothes in terms of composition, color scheme, characters placement, and narration of "time" in the picture. The results demonstrated that the Phawed cloth structure is unique and different from the common mural paintings, the length and utilization in cloth worship rituals, then the way to design conveys simplicity, simple colors, and straightforwardness, therefore the researcher could further develop Phawad 89 clothes creatively by using Silk screen, contemporary technique leading to Phawed cloth for the ceremony, as to inherit the tradition. | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ 89 พระเวส บูชาในหลวงรัชกาลที่ 9 มีจุดประสงค์เพื่อสร้างสรรค์สืบทอดผลงานจิตรกรรมบนผืนผ้าผะเหวด อันเป็นประเพณีและวัฒนธรรมของคนอีสาน เป็นจำนวน 89 ผืน มีกระบวนการสร้างสรรค์ที่ตั้งใจจะให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนตั้งแต่แรกเริ่มจนกระทั่งได้ผลงานศิลปะที่สามารถใช้ในพิธีจริง และนำไปถวายแก่วัดในภาคอีสานรวมทั้งสิ้น 89 วัด ตามตัวเลขของพระชนมายุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล และเทิดพระเกียรติคุณของพระองค์ในฐานะพุทธมามกะผู้ทรงเป็นแบบอย่างอันดีงามในการดำเนินชีวิตของปวงชนของพระองค์ท่าน ตลอดจนเป็นการเทิดทูนพระองค์ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ พระมหาชนก ซึ่งเป็นชาดกที่นำไปรวมกับแรงบันดาลใจในการทำเรื่องพระเวส ทั้งนี้ยังเป็นการยกระดับคุณค่างานช่างพื้นบ้านผ่านผลงานจิตรกรรมอีสานร่วมสมัยมี วิธีคิดในการอนุรักษ์จิตรกรรมอีสาน โดยใช้เทคนิคทางศิลปะภาพพิมพ์ซิลค์สกรีนมาช่วยในการผลิตเป็นผลงานจิตรกรรมบนผืนผ้าเพื่อรักษาอายุการใช้งาน โดยกระบวนการที่อาศัยการมีส่วนร่วมของคนท้องถิ่น อีกทั้งยังเป็นการสืบสานศิลปกรรมพื้นบ้านอีสาน ที่เชื่อมโยงจิตใจของคนในท้องถิ่นกับศาสนาที่มีคุณค่าทางจิตวิญญาณและการดำรงชีวิตของคนอีสาน และเป็นการเน้นย้ำถึงความสำคัญถึงความศรัทธาของผู้คนต่อการมีส่วนร่วมในงานบุญประเพณีที่มีเจตจำนงในการทำนุบำรุงศาสนาผ่านผลงานสร้างสรรค์ โดยอาศัยวิธีการวิเคราะห์โครงสร้างภาพผ้าผะเหวดโบราณ ในแง่การจัดองค์ประกอบภาพ,โครงสี, การวางตัวละคร และ การเล่า “เวลา” ในภาพ ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างผ้าผะเหวดมีลักษณะเฉพาะตัว เนื่องจากแตกต่างจากจิตรกรรมฝาผนังทั่วไป ความยาว และลักษณะของการใช้ในพิธีบูชาผ้าทำให้มีแนวทางการออกแบบ ที่แสดงออกถึง ความเรียบง่าย สีที่ไม่ซับซ้อนและการแสดงออกอย่างตรงไปตรงมา ทำให้ผู้วิจัยสร้างสรรค์ สามารถนำมาพัฒนาต่อยอดเป็นผ้าผะเหวด 89 โดยใช้เทคนิคร่วมสมัยคือการพิมพ์ตะแกรงไหม กลายเป็น ผ้าผะเหวด สำหรับงานพิธีโดยมีเป้าหมายจะสืบทอดประเพณีต่อไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ผ้าผะเหวด | th |
dc.subject | บุญพระเวสสันดร | th |
dc.subject | จิตรกรรมอีสานร่วมสมัย | th |
dc.subject | ในหลวงรัชกาลที่ 9 | th |
dc.subject | ศิลปะชุมชน | th |
dc.subject | Phawed Cloth | en |
dc.subject | Bun Phra Wessantara | en |
dc.subject | Contemporary Isan Painting in King Rama IX | en |
dc.subject | Community Art | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | 89 BANNERS FOR RAMA IX | en |
dc.title | 89 พระเวส บูชาในหลวงรัชกาลที่ 9 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58007813.pdf | 27.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.