Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3270
Title: The Effect of Learning Activities  Using Augmented reality in the Drawing Stlye to Enchance Multi-view Drawing Abilities of Mathayomsuksa 2 of Sukhondheerawidh School.
ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง งานเขียนแบบเพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนภาพฉาย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2โรงเรียนสุคนธีรวิทย์
Authors: Jirayu KHUMTHANHOM
จิรายุ คุ้มถนอม
Sitthichai Laisema
สิทธิชัย ลายเสมา
Silpakorn University. Education
Keywords: เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม
งานเขียนแบบ
ความสามารถในการเขียนภาพฉาย
AUGMENTED REALITY
DRAWING
MULTI-VIEW DRAWING ABILITIES
Issue Date:  18
Publisher: Silpakorn University
Abstract: The purpose of this research were 1) to develop augmented reality in the drawing style to enhance multi-view drawing abilities 2) to study the score in Multi–view drawing abilities that using Augmented Technology of the students Mathayomsuksa 2 of Sukhondheerawidh School 3) to study the opinions of the students Mathayomsuksa 2 of Sukhondheerawidh School towards learning management on Augmented Reality. The samples of this research were 40 students who study in Mathayomsuksa 2 of Sukhondheerawidh School, Nakhon Pathom, year 2020. The tools consisted of 1) Learning management on drawing and Augmented Reality 2) Learning materials about drawing with Augmented Reality 3) Quality assessment form for learning material, drawing with Augmented Reality 4) Ability assessment form for Multi–view drawing abilities. 5) Questionnaire of the students learning management on learning material, drawing and Augmented Reality. Statistics used to analyze the data were mean and standard deviation. The research findings were concluded as follows 1.) The quality of learning material, drawing with  Augmented Reality was also in the very good level (X = 4.66 and S.D. = 0.90) 2.) Drawing and Multi–view drawing abilities having to write orthographic drawing was also in the very good level (X = 20.02 and S.D. = 0.38) 3.) The students were satisfied with the teaching and learning activities by using Augmented Reality and Drawing for promotion the Multi–view drawing abilities at the highest level (X = 4.50 S.D. = 0.63).
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง งานเขียนแบบ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนภาพฉาย 2) เพื่อศึกษาคะแนนความสามารถในการเขียนภาพฉายหลังเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม และ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสุคนธีรวิทย์ จังหวัดนครปฐม ปีการศึกษา 2563 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง งานเขียนแบบด้วย เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม Augmented Reality 2) สื่อการเรียนรู้เรื่องงานเขียนแบบ ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม Augmented Reality 3) แบบประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้เรื่อง งานเขียนแบบ ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม Augmented Reality 4) แบบประเมินความสามารถการเขียนภาพฉาย 5) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้เรื่อง งานเขียนแบบด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม Augmented Reality สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพสื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่อง งานเขียนแบบ อยู่ในระดับดีมาก (X =  4.66 และ S.D. = 0.90) 2) ความสามารถในการเขียนภาพฉาย อยู่ในระดับดีมาก (X = 20.02 และ S.D. = 0.38) 3) ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม เรื่องงานเขียนแบบ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนภาพฉาย อยู่ในระดับมากที่สุด (X = 4.50 และ S.D. = 0.63)
Description: Master of Education (M.Ed.)
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3270
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59257401.pdf4.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.