Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3368
Title: | A CASE STUDY OF THE REPRESENTATION OF THE THAI CLASSICAL MUSICIN THE THAI CULTURAL CONSERVATION FILM การศึกษาองค์ประกอบของดนตรีไทยในภาพยนตร์เชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย |
Authors: | Wittawat PHONCHUAI วิทวัส พลช่วย EK-KARACH CHAROENNIT เอกราช เจริญนิตย์ Silpakorn University. Music |
Keywords: | ละครเวที ภาพยนตร์ ดนตรีไทย ดนตรีประกอบภาพยนตร์ music support the core of the story : Music The task of the soundtracks are to tell those stories. thai classical music |
Issue Date: | 2 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The result of the research refers that when a movie aims to convey any messages, music doesn't have to repeat the same thing. The duty of the music is to support the core of the story and attract the viewers in order to make such a unique message in the movie precisely, vividly and meaningfully, and at the end, to create a feeling that viewers are supposed to feel.
The opening scene of the movie, a storyteller is putting a make up on while telling a story about a xylophonist’s journey. The song describes the journey, and when pictures and a song are combined, the scene is able to drive what the first scene of the story could tell.
While a song in the middle part of the movie invites people with a picture of anger, the mood of the song that comes out is fierce.
When it’s time for a finale scene, the picture gives the atmosphere of confusion and curiousity. Therefore, a mood of the song becomes emotional, and very diversal. The director has chosen the Graw-Nai song in order to create the finale for this final scene. However, the mission of the movie as well as the soundtracks are to tell the story hidden under the dialogue. The task of the soundtracks are to tell those stories. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องระนาดเอกทางเปลี่ยน ผู้วิจัยได้ทำการเก็บขอมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนร่วมในการทำเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องระนาดเอก ประกอบด้วย ผู้กำกับภาพยนตร์ คนเขียนบท คนทำดนตรี คนตัดต่อภาพ และคนตัดต่อเสียง และคนอื่นๆ ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการการทำเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องระนาดเอกทางเปลี่ยน โดยจะใช้หลักการของละคร และทฤษฎีดนตรีเป็นเครื่องมือในการหาความสัมพันธ์เหล่านั้น เพื่อเป็นแนวทางในการทำเพลงประกอบภาพยนตร์ ให้คนอื่นๆ ที่สนใจได้ศึกษาต่อได้ ในการวิจัยครั้งนี้นั้นผู้วิจัยได้เลือกเพลงประกอบภาพยนตร์จากภาพยนตร์เรื่องระนาดเอกทางเปลี่ยนมาสามเพลงเพื่อทำการวิจัย ผลการวิจัยพบว่าเมื่อภาพยนตร์ต้องการเล่าสิ่งใด เพลงหรือดนตรีไม่จำเป็นต้องเล่าสิ่งเดียวกัน เพียงต้องเล่าในสิ่งที่สามารถสนับสนุนแก่นของเรื่องได้ และสามารถดึงดูดคนดูให้มีความรู้สึกไปในทางที่ควรจะรู้สึกได้ เพลงในฉากเปิดเรื่อง ในฉากหรือภาพของภาพยนตร์นั้น เขากำลังเล่าถึงการแต่งหน้า แต่เพลงนั้นเล่าถึงการเดินทาง และเมื่อทั้งสองอย่างนั้นรวมกัน จึงสามารถขับสิ่งที่ฉากแรกของเรื่องอยากจะบอกออกมาได้ นั่นก็คือ การเชื้อเชิญคนให้เข้าไปสู่ภาพยนตร์ เพลงตอนกลางเรื่อง ภาพเล่าเรื่องของอารมณ์โกรธ และอารมณ์ของเพลงที่ออกมาคือความดุดัน เพลงตอนจบ เป็นฉากที่มีความหลากหลายทางอารมณ์ ทางผู้กำกับจึงได้เลือกเพลงกราวใน เพื่อสร้างความขลังให้แก่ฉากสุดท้ายนี้ ทั้งนี้ทั้งนั้นเป้าหมายของภาพยนตร์หรือเป้าหมายของดนตรีประกอบภาพยนตร์ ล้วนมีไว้เพื่อเล่าเรื่องราวที่ซ่อนอยู่ภายใต้บทพูด หน้าที่ของเพลงประกอบภาพยนตร์นั้นคือเล่าเรื่องราวเหล่านั้นออกมา |
Description: | Master of Music (M.Mus) ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3368 |
Appears in Collections: | Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61701320.pdf | 4.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.