Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3419
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNatnapha NOKDEEen
dc.contributorนาถนภา นกดีth
dc.contributor.advisorPRACHUAB KLOMJITen
dc.contributor.advisorประจวบ กล่อมจิตรth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Engineering and Industrial Technologyen
dc.date.accessioned2021-07-27T08:01:51Z-
dc.date.available2021-07-27T08:01:51Z-
dc.date.issued2/7/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3419-
dc.descriptionMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม)th
dc.description.abstractShort-term memory is the ability to recognize the detail in short time period. This Short-term memory can be useful in calculation and some work area. The purpose of this research is to find the relation of respond of brain by using N-Back Task cooperate with game computer. Collecting the data from 10 college students. Research instruments were 1) The computer-based action game (Road Fighter), 2) Audio short-term memory test of 1-Back Task and 2-Back Task, 3) Electroencephalography (EEG), and 4) Mental workload assessment NASA Task Load Index (NASA-TLX). The data analysis employed t-test to test the experimental hypothesis. The result of the research founded that the average of response errors, average reaction time, average electroencephalography of beta and gamma, and mental workload after the experiment audio short-term memory test on dual task with 1-Back Task less than dual task with 2-Back Task at the difficulty level A and B significant level of .05 (α=0.05). The result of the research shown that multitasking at the same time affect the short memory section in the brain to slow down everything and decrease work efficiency. en
dc.description.abstractความจำระยะสั้นเป็นความสามารถในการจดจำข้อมูลต่าง ๆ ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ โดยสามารถนำมาใช้ประโยชน์สำหรับการคำนวณหรือการทำงาน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ผลการตอบสนองของภาระงานทางสมองโดยใช้ N-Back Task ร่วมกับการเล่นคอมพิวเตอร์เกม โดยเก็บข้อมูลจากนักศึกษากลุ่มตัวอย่างจำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมคอมพิวเตอร์เกมแอคชัน (Road Fighter) 2) แบบทดสอบความจำระยะสั้นด้านเสียง 1-Back Task และ 2-Back Task 3) เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าสมอง EEG และ 4) แบบประเมินภาระงานทางจิตใจ NASA-TLX วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบค่าที (t-test) เพื่อตรวจสอบสมมติฐานของการทดลอง  ผลการวิจัยพบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนความผิดพลาดของการตอบสนอง ค่าเฉลี่ยเวลาปฏิกิริยา ค่าเฉลี่ยคลื่นไฟฟ้าสมองของคลื่นเบต้าและคลื่นแกมม่า และภาระทางจิตใจขณะทำแบบทดสอบความจำระยะสั้นด้านเสียง การทำงานร่วมกับแบบทดสอบ 1-Back Task น้อยกว่าการทำงานร่วมกับแบบทดสอบ 2-Back Task ที่ระดับความยาก A และระดับความยาก B อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (α=0.05) ผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าการทำงานหลายอย่างในเวลาเดียวกันจะส่งผลต่อความจำระยะสั้นต่อการทำงานของสมอง ทำให้ไม่สามารถจดจ่อได้สองสิ่งในเวลาเดียวกัน เกิดการล่าช้าและมีประสิทธิภาพในการทำงานลดลงth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความจำระยะสั้นth
dc.subjectแบบทดสอบความจำระยะสั้นth
dc.subjectการทำงานสองอย่างพร้อมกันth
dc.subjectการตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าสมองth
dc.subjectShort-term memoryen
dc.subjectN-Back Tasken
dc.subjectDual Tasken
dc.subjectElectroencephalographyen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleTHE CORRELATION OF BRAIN WAVE WORKLOADS OF DUAL TASK WITH SHORT-TERM MEMORYen
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ของภาระงานทางคลื่นสมองในการทำงานสองอย่างพร้อมกันจากการจดจำระยะสั้นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Engineering and Industrial Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620920043.pdf6.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.