Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3422
Title: PRODUCTIVITY IMPROVEMENT IN THE ELECTRONICS INDUSTRY 
การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรมประเภทอิเล็กทรอนิกส์ 
Authors: Sujitra BUAPHAN
สุจิตรา บัวผัน
PRACHUAB KLOMJIT
ประจวบ กล่อมจิตร
Silpakorn University. Engineering and Industrial Technology
Keywords: การเพิ่มผลผลิต
การศึกษางาน
แผนภูมิคนและเครื่องจักร
หลักการ ECRS
Productivity
Work study
Man-Machine Chart
ECRS
Issue Date:  18
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This independent study aims to improve production process and suitably standardize the number of operator of a production line leading to an increment of working efficiency. The reduction of waste from operator work was determined in order to reduce the labor cost. Case of interest was Smartphone manufacturing. This study applied the theories of work study and time study including Man-Machine activity chart and ECRS techniques to analyze and determine the alternative improvement for reducing the waste from work. The results show that the standard number of operators for production line was reduced from 38 to 35 persons/production line or 7.89%. Consequently, the labor cost was reduced from 2,394,000 to 2,205,000 bahts/month, approximately, or 7.89%. The improvement could apply to production of other model in long term.
การศึกษาค้นคว้างานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตและกำหนดมาตรฐานจำนวนพนักงานที่ใช้ต่อสายการผลิตให้เหมาะสม ส่งผลให้สายการผลิตมีประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้น โดยมุ่งเน้นการลดความสูญเปล่าจากการทำงานของพนักงานให้น้อยลง ส่งผลให้สามารถลดต้นทุนแรงงานในกระบวนการผลิต กรณีศึกษา คือ การผลิตสมาร์ทโฟน ซึ่งการศึกษาค้นคว้างานวิจัยนี้ได้นำหลักการ การศึกษางานและศึกษาเวลาในการทำงาน วิเคราะห์โดยใช้แผนภูมิการทำงานของคนและเครื่องจักร และนำหลักการ ECRS เข้ามาวิเคราะห์และหาแนวทางในการปรับปรุงเพื่อลดความสูญเปล่าจากการทำงาน จากผลการศึกษาพบว่า กระบวนการที่สนใจในการแก้ปัญหา สามารถปรับปรุงและกำหนดมาตรฐานของจำนวนพนักงานได้โดยพิจารณาจากจำนวนพนักงานเดิมที่ใช้ 38 คนต่อสายการผลิต ลดลงเหลือ 35 คนต่อสายการผลิต ซึ่งคิดเป็น 7.89% ส่งผลให้สามารถลดต้นทุนแรงงานลงจากประมาณ 2,394,000 บาทต่อเดือน เหลือ 2,205,000 บาทต่อเดือน หรือประมาณ 7.89% ซึ่งในการปรับปรุงสามารถประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์รุ่นอื่นในระยะยาวได้
Description: Master of Engineering (M.Eng.)
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3422
Appears in Collections:Engineering and Industrial Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620920053.pdf5.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.