Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3550
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kanyaporn CHAISIRI | en |
dc.contributor | กันยาพร ชัยศิริ | th |
dc.contributor.advisor | Nammon Ruangrit | en |
dc.contributor.advisor | น้ำมนต์ เรืองฤทธิ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2022-02-01T04:46:09Z | - |
dc.date.available | 2022-02-01T04:46:09Z | - |
dc.date.issued | 26/11/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3550 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to develop the infographic teaching kit for promoting the third grade students’ reading for comprehension ability of Thai subject 2) to compare their reading comprehension ability of Thai subject with the infographic teaching kit 3) to study of learning satisfaction by using infographic teaching kit of Thai subject for the third grade students. The sample was 10 students third grade students of Banchamoung School in Bangsaphan district of Prachaupkirikhan province. The instrument used in collecting data and researching was a reading comprehension lesson plan of Thai subject , an infographic teaching kit of Thai subject for the third grade students, the ability assessment questionnaire by using infographic teaching kit of Thai subject for the third grade students and the satisfaction assessment questionnaire for 10 third grade students of Thai subject. Data was analyzed by percentage(%), means, standard deviation(S.D.) and t-test. The results of the study were as follows 1. The overall content quality of the infographic teaching kit of Thai subject for promoting the third grade students’ reading for comprehension ability was in the good level which has mean as which has mean as 4.53 and standard deviation as 0.14 and the infographic technology the total level of content was at good level which has mean as 4.78 and standard deviation as 0.26 2. The compared results of the third grade students’ reading for comprehension ability found that the post learning result by using the infographic teaching kit was higher than the pre-learning result statistically significant. 3. The result of learning satisfaction by using infographic teaching kit of Thai subject for the third grade students to promote Thai subject reading for comprehension ability was in the high level which has mean as 2.82 and standard deviation as 0.31 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านจับใจความ รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ รายวิชาภาษาไทย ด้วยชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 ที่มีต่อชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 โรงเรียนบ้านชะม่วง อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จํานวน10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย เรื่องการอ่านจับใจความ ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่3 แบบประเมินความสามารถการอ่านจับใจความ ด้วยชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก เรื่องการอ่านจับใจความ รายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่3 และ แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 ที่มีต่อชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่า t-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านจับใจความ รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ด้านเนื้อหามีคุณภาพโดยรวมในระดับดีมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.14 และด้านอินโฟกราฟิก โดยรวมในระดับดีมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.78 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.26 2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความ โดยใช้ชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านจับใจความ รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 มีความสามารถในการอ่านจับใจความหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านจับใจความ รายวิชาภาษาไทย มีระดับความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านจับใจความ รายวิชาภาษาไทย อยู่ในระดับมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.82 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.31 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ชุดการสอน | th |
dc.subject | อินโฟกราฟิก | th |
dc.subject | การอ่านจับใจความ | th |
dc.subject | TEACHING KIT | en |
dc.subject | INFOGRAPHIC | en |
dc.subject | READING COMPREHENSION | en |
dc.subject.classification | Computer Science | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF THE INFOGRAPHIC TEACHING KIT FOR PROMOTING THE THIRD GRADE STUDENTS’READING FOR COMPREHENSION ABILITY OF THAI SUBJECT | en |
dc.title | การพัฒนาชุดการสอนแบบอินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านจับใจความ รายวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61257401.pdf | 16.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.