Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3749
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Atcha RAWEKCHOM | en |
dc.contributor | อัชฌา ระเวกโฉม | th |
dc.contributor.advisor | Prabhassara Chuvichean | en |
dc.contributor.advisor | ประภัสสร์ ชูวิเชียร | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Archaeology | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-18T07:33:37Z | - |
dc.date.available | 2022-07-18T07:33:37Z | - |
dc.date.issued | 1/7/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3749 | - |
dc.description | Master of Arts (M.A.) | en |
dc.description | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aims to study pattern of art and define the age of bell-shaped pagoda found in Supanburi province area. From the study, it finds that bell-shaped pagoda at Supanburi has different details and they are able to be divided into 2 main categories. The first category is the bell-shaped pagoda that has Prataksin platform and high base to support and the area that support the bell is 3 lotus-shaped bases within round layout. The second category is the bell-shaped pagoda that has the supporting area of the bell and it is 3 lotus-shaped bases within octagon layout or round layout. The study finds that the bell-shaped pagoda in Supanburi province is the pattern influenced by different arts such as Lanna arts, Sukhothai arts and Ayutthaya art during the 20th -21st century Buddha. The patterns of work of arts that appear such as usage of 3 lotus-shaped bases supported the bell was the popular pattern of Lanna art pagoda. It related to the historical event that mentioned about the relation between Maung Supanburi and cities in the northern part. Then the ruler of Muang Supanburi governed Krungsri Ayutthaya, they brought the pattern of bell-shaped of Muang Supanburi to Krungsri Ayutthaya too. Therefore, there were a lot of pagodas with the same pattern appeared in Krungsri Ayutthaya. Not only the bell-shaped pagoda of Muang Supanburi had influence in Krungsri Ayutthaya but the bell-shaped pagoda of Muang Supanburi was influenced by the bell-shaped pagoda of Krungsri Ayutthaya also such as the creation of 3-storey Malaitao that was on the supporting of the bell. This is the uniqueness of the bell-shaped pagoda of Ayutthaya pattern. This affected the pattern of art of the bell-shaped pagoda in Muang Supanburi to have mixed styles from different patterns of art; therefore, it became special form that was unique, and the pagodas were found in both Muang Supanburi and Phra Nakornsri Ayutthaya. The pattern of the bell-shaped could finish popularity in the period of Supanburi dynasty in Krungsri Ayutthaya after the war of 1st fall of Ayutthaya in 2112 BE. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบศิลปะและกำหนดอายุเจดีย์ทรงระฆังที่พบในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งจากการศึกษาพบว่าเจดีย์ทรงระฆังเมืองสุพรรณบุรีมีรายละเอียดที่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มเจดีย์ทรงระฆังที่มีลานประทักษิณและฐานยกสูงรองรับส่วนรองรับองค์ระฆังที่เป็นชุดฐานบัว 3 ฐานในผังกลม และกลุ่มเจดีย์ทรงระฆังที่มีส่วนรองรับองค์ระฆังเป็นชุดฐานบัว 3 ฐานในผังแปดเหลี่ยมหรือผังกลม จากผลการศึกษา พบว่าเจดีย์ทรงระฆังเมืองสุพรรณบุรีเป็นรูปแบบที่ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะอื่น ๆ ได้แก่ ศิลปะล้านนา ศิลปะสุโขทัย และศิลปะอยุธยา ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 20 ถึงช่วงพุทธศตวรรษที่ 21 โดยรูปแบบของงานศิลปกรรมที่ปรากฏ เช่น การใช้ชุดฐานบัว 3 ฐานรองรับองค์ระฆัง ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมของเจดีย์ในศิลปะล้านนา มีสอดคล้องกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างเมืองสุพรรณบุรีกับหัวเมืองทางตอนเหนือ และต่อมาเมื่อผู้ปกครองเมืองสุพรรณบุรีได้เข้าไปปกครองกรุงศรีอยุธยาจึงได้นำรูปแบบของเจดีย์ทรงระฆังเมืองสุพรรณบุรีเข้าไปด้วยจึงปรากฏเจดีย์ในรูปแบบดังกล่าวที่กรุงศรีอยุธยาอยู่เป็นจำนวนมาก ไม่ใช่เพียงรูปแบบของเจดีย์ทรงระฆังเมืองสุพรรณบุรีได้เข้าไปมีอิทธิพลในกรุงศรีอยุธยาแค่เพียงฝ่ายเดียวเท่านั้นเพราะเจดีย์ทรงระฆังเมืองสุพรรณบุรียังปรากฏรูปแบบของเจดีย์ทรงระฆังอยุธยามาด้วยเช่นกัน เช่น การทำชุดมาลัยเถา 3 ชั้นที่อยู่ในส่วนรองรับองค์ระฆังซึ่งถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของเจดีย์ทรงระฆังแบบอยุธยา ด้วยเหตุนี้จึงส่งผลให้รูปแบบศิลปกรรมของเจดีย์ทรงระฆังเมืองสุพรรณบุรีมีความผสมผสานจากหลากหลายศิลปะจนกลายเป็นรูปแบบพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์และพบอยู่เป็นจำนวนมากทั้งในเมืองสุพรรณบุรีและพระนครศรีอยุธยา โดยรูปแบบเจดีย์ทรงระฆังของสุพรรณบุรีคงหมดความนิยมลงเมื่อสิ้นสุดการปกครองของราชวงศ์สุพรรณภูมิในกรุงศรีอยุธยาหลังจากสงครามการเสียกรุงครั้งที่ 1 ใน พ.ศ 2112 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | เจดีย์ทรงระฆัง | th |
dc.subject | เมืองสุพรรณบุรี | th |
dc.subject | Bell-shaped pagoda | en |
dc.subject | Muang Suphanburi | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | BELL SHAPED STUPA IN SUPHANBURI PROVINCE BETWEEN 19TH-22TH CENTURY BUDDHA | en |
dc.title | เจดีย์ทรงระฆังเมืองสุพรรณบุรี พุทธศตวรรษที่ 19-22 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Archaeology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60107207.pdf | 4.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.