Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSarawut THARAPORNen
dc.contributorศราวุฒิ ธราพรth
dc.contributor.advisorKANLAYA TIENWONGen
dc.contributor.advisorกัลยา เทียนวงศ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T08:00:04Z-
dc.date.available2022-07-18T08:00:04Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3836-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe research aims to 1) to study the ability to create work pieces of  Mathayom Suksa 4 students 4 by using task-based learning combined with using local learning resources 2) To compare the learning outcomes about Special Economic Development of Mathayom Suksa 4 students before and after leaning 3) To study the opinions of Mathayom Suksa 4 students about learning with task-based learning with the use of local learning resources. The research instruments consisted of 1) Lesson Plan 1: Western Thailand, Lesson Plan 2: Economic Path and Lesson Plan 3: Moo Mit Mueang Kan by using task-based learning combined with using local learning resources in the Kanchanaburi Special Economic Zone 2) Assessments about the economics of the development of special economic zones by using task-based learning combined with using local learning resources in the Kanchanaburi Special Economic Zone, 1 copy,4 multiple choices, 30 questions 3) A Competency Assessment Form about the ability to create works of students by using task-based learning combined with using local learning resources 4) A questionnaire on students' opinions on using task-based learning combined with using local learning resources. The sample group used in this research were students in Mathayom Suksa 4/9 at Thepmongkhonrangsi School. Mueang Kanchanaburi District Kanchanaburi Province, the first semester of the academic year 2021, a total of 30 students were obtained by using the Lottery method. The data were analyzed by using the mean (X), standard deviation (S.D.) and dependent sample t-test and content analysis. The results of the follows : 1) Mathayom Suksa 4 students have a very good level of competence to create works by using task-based learning combined with using local learning resources. 2) Post-study outcomes with task-based learning combined with the use of local learning resources higher than before statistically significant at the .05 level 3) The students’ opinions on learning by using task-based learning combined with using local learning resources at the most agreeable level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่อง เศรษฐศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น และ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ตะวันตกแดนสยาม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เส้นทางเศรษฐกิจ และแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 หมู่มิตรเมืองกาญจน์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ใน 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ เรื่อง เศรษฐศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ที่จัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น จำนวน 1 ฉบับ เป็นปรนัย ชนิดเลือกคำตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 3) แบบประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงานของนักเรียนหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 โรงเรียนเทพมงคลรังษี อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564  จํานวน 30 คน  ซึ่งได้ด้วยวิธีการจับฉลาก ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น อยู่ในระดับดีมาก 2) ผลการเรียนหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ แบบเน้นภาระงานร่วมกับการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการสร้างสรรค์ชิ้นงาน, การเน้นภาระงาน, การเรียนรู้ในท้องถิ่น, เขตเศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรีth
dc.subjectWork Creation/ Workload Emphasis/ Local Learning/ Kanchanaburi Special Economic Zoneen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ECONOMICSAND DEVELOPMENT OF SPECIAL ECONOMIC AREA FOUA FOURBY USING – BASED LEARNING AND COMMUNITY – BASED LEARNINGFOR MATTAYOMSUKSA 4 STUDENTS SPECIAL ECONOMIC ZONES  KANCHANABURI PROVINCEen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4    โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานร่วมกับใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นเขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดกาญจนบุรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60262318.pdf9.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.