Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBenjawan PROMYATen
dc.contributorเบญจวรรณ พร้อมญาติth
dc.contributor.advisorSuneeta Kositchaivaten
dc.contributor.advisorสุนีตา โฆษิตชัยวัฒน์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-12-13T04:30:55Z-
dc.date.available2022-12-13T04:30:55Z-
dc.date.issued25/11/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4127-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to compare English speaking skills after using a task-based learning approach of Seventh Graders and 2) to study students' satisfaction towards learning English after using a task-based learning approach. The sample consisted of 40 seventh graders, the first semester of the academic year 2022. They were selected by using cluster random sampling from Prachuapwittayalai school, Prachuap Khiri Khun. The research instruments were 1) task-based learning lesson plans, 2) direct test of speaking skills and an assessment rubric of English-speaking skills and 3) the satisfaction assessment toward task-based learning. The data were analyzed by mean, standard deviation, t-test dependent. The results of the study were as follows:  1) The students' English-Speaking skills after using a task-based learning approach of the students was significantly higher than before at .05 level. 2) The students' satisfaction towards a task-based learning approach was at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน และ 2) ศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 40 คน ได้มาจากวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษและเกณฑ์ประเมินทักษะการพูด และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถิติทดสอบแบบไม่เป็นอิสระจากกัน (t-test dependent)  ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเพื่อเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษ อยู่ในระดับ มากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectทักษะการพูดภาษาอังกฤษ, การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานth
dc.subjectSpeaking Skillsen
dc.subjectTask-Based Learningen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Effects of Task-Based Learning to Improve English Speaking Skills of Seventh Gradersen
dc.titleผลการใช้การจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงานเพื่อส่งเสริมทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620108.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.